ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไอแซก นิวตัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 96:
| year = 2012}}</ref>
 
นิวตันได้รับแต่งตั้งให้เป็นศาสตราจารย์ลูเคเชียนด้านคณิตศาสตร์เมื่อปี พ.ศ. 2212 โดยการเสนอชื่อของแบร์โรว์ ซึ่งในวันรับตำแหน่งนั้น ผู้รับตำแหน่งที่เป็นภาคีสมาชิกของเคมบริดจ์หรือออกซฟอร์ดจะต้องบวชเข้าเป็นพระในนิกายแองกลิกัน อย่างไรก็ดี ตำแหน่งศาสตราจารย์ลูเคเชียนนี้ไม่ได้บังคับว่าผู้รับตำแหน่งจะต้องปฏิบัติหน้าที่ทางศาสนา (คาดว่าคงเพราะต้องการให้มีเวลาเพื่อวิทยาศาสตร์มากกว่า) นิวตันจึงยกเป็นข้ออ้างว่าตนไม่จำเป็นต้องบวช และได้รับพระราชานุญาตจาก[[พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ]] การ[[ไฟล์:NewtonsTelescopeReplica.jpg|thumb|แบบจำลองจาก[[กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง]]ตัวที่เราจะไปรักใครซักคนไม่ใช้เรื่องยากสองของนิวตัน แต่เราต้องกล้าที่จะพูดกล้าที่จะทำกล้าที่จะยอมรับซึ่งเขานำเสนอต่อ[[ราชสมาคมแห่งลอนดอน]]ในสิ่งที่เกิดขึ้นเราทำอะไรไปบ้างเราไม่ได้ทำอะไรไปบ้างปี 1672<ref>{{cite book|url=http://books.google.com/?id=KAWwzHlDVksC&dq=history+of+the+telescope&printsec=frontcover |title='&#39;The History of the Telescope'&#39; By Henry C. King, Page 74 |publisher=Google Books |accessdate=16 January 2010|isbn=978-0-486-43265-6|author1=King, Henry เราต้องยอมรับให้หมดC|year=2003}}</ref>]]
 
=== ด้านทัศนศาสตร์ ===
[[ไฟล์:NewtonsTelescopeReplica.jpg|thumb|แบบจำลองจาก[[กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง]]ตัวที่สองของนิวตัน ซึ่งเขานำเสนอต่อ[[ราชสมาคมแห่งลอนดอน]]ในปี 1672<ref>{{cite book|url=http://books.google.com/?id=KAWwzHlDVksC&dq=history+of+the+telescope&printsec=frontcover |title='&#39;The History of the Telescope'&#39; By Henry C. King, Page 74 |publisher=Google Books |accessdate=16 January 2010|isbn=978-0-486-43265-6|author1=King, Henry C|year=2003}}</ref>]]
 
ช่วงปี 2213-2215 นิวตันสอนวิชาทัศนศาสตร์<ref>{{cite web|last=Newton|first=Isaac|title=Hydrostatics, Optics, Sound and Heat|url=http://cudl.lib.cam.ac.uk/view/MS-ADD-03970/|publisher=Cambridge University Digital Library|accessdate=10 January 2012}}</ref> ในระหว่างช่วงเวลานี้ เขาศึกษาเรื่อง[[การหักเห]]ของแสง โดยแสดงให้เห็นว่า [[ปริซึม]]สามารถแตกแสงขาวให้กลายเป็นสเปกตรัมของแสงได้ และถ้ามี[[เลนส์]]กับปริซึมอีกแท่งหนึ่งจะสามารถรวมแสงสเปกตรัมหลายสีกลับมาเป็นแสงขาวได้<ref>Ball 1908, p. 324</ref> นักวิชาการยุคใหม่เปิดเผยว่างานวิเคราะห์แสงขาวของนิวตันนี้เป็นผลมาจากวิชาเล่นแร่แปรธาตุเชิง[[ลัทธินิยมคอร์พัสคิวลาร์|คอร์พัสคิวลาร์]]<ref>[[William R. Newman]], "Newton's Early Optical Theory and its Debt to Chymistry," in Danielle Jacquart and Michel Hochmann, eds., ''Lumière et vision dans les sciences et dans les arts'' (Geneva: Droz, 2010), pp. 283-307. A free access online version of this article can be found at [http://webapp1.dlib.indiana.edu/newton/html/Newton_optics-alchemy_Jacquart_paper.pdf the ''Chymistry of Isaac Newton'' project]</ref>