ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ช่อง 3 เอชดี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mix.natthawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 85:
 
=== ปัจจุบันการออกอากาศในระบบดิจิทัล ===
[[ไฟล์:Channel 3-HD33 Logo2014.png|thumb|โลโก้ช่อง 3 HD ที่ใช้ตั้งแต่วันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2557 - 25 มีนาคม พ.ศ. 2563]]เมื่อวันที่ 26-27 ธันวาคม พ.ศ. 2556 กลุ่มบีอีซีเวิลด์ บริษัทแม่ของไทยทีวีสีช่อง 3 มอบหมายให้บริษัท บีอีซี-มัลติมีเดีย จำกัด บริษัทลูกอีกแห่งหนึ่ง เข้าประมูลช่องโทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบดิจิทัล ประเภทบริการทางธุรกิจระดับชาติ ทั้งสามประเภทคือ รายการทั่วไป ภาพคมชัดสูง (ให้ราคาเป็นอันดับที่ 1), รายการทั่วไป ภาพคมชัดปกติ (ให้ราคาเป็นอันดับที่ 4), รายการเด็กและครอบครัว (ให้ราคาเป็นอันดับที่ 1) จากนั้นเมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2557 กสทช.ประกาศหมายเลขช่อง ที่แต่ละบริษัทซึ่งผ่านการประมูลเลือกไว้ ตั้งแต่วันที่ 24 มกราคม ในการประชุมร่วมกัน โดยในส่วนของ บีอีซี-มัลติมีเดีย ผลปรากฏว่า รายการเด็กและครอบครัว ได้หมายเลข 13, รายการทั่วไป ภาพคมชัดปกติ ได้หมายเลข 28 และรายการทั่วไป ภาพคมชัดสูง ได้หมายเลข 33
 
เมื่อวันที่ 26-27 ธันวาคม พ.ศ. 2556 กลุ่มบีอีซีเวิลด์ บริษัทแม่ของไทยทีวีสีช่อง 3 มอบหมายให้บริษัท บีอีซี-มัลติมีเดีย จำกัด บริษัทลูกอีกแห่งหนึ่ง เข้าประมูลช่องโทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบดิจิทัล ประเภทบริการทางธุรกิจระดับชาติ ทั้งสามประเภทคือ รายการทั่วไป ภาพคมชัดสูง (ให้ราคาเป็นอันดับที่ 1), รายการทั่วไป ภาพคมชัดปกติ (ให้ราคาเป็นอันดับที่ 4), รายการเด็กและครอบครัว (ให้ราคาเป็นอันดับที่ 1) จากนั้นเมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2557 กสทช.ประกาศหมายเลขช่อง ที่แต่ละบริษัทซึ่งผ่านการประมูลเลือกไว้ ตั้งแต่วันที่ 24 มกราคม ในการประชุมร่วมกัน โดยในส่วนของ บีอีซี-มัลติมีเดีย ผลปรากฏว่า รายการเด็กและครอบครัว ได้หมายเลข 13, รายการทั่วไป ภาพคมชัดปกติ ได้หมายเลข 28 และรายการทั่วไป ภาพคมชัดสูง ได้หมายเลข 33
 
และเมื่อ กสทช.อนุญาตให้แต่ละบริษัท ซึ่งจะรับมอบใบอนุญาตใช้คลื่นความถี่ ดำเนินการทดสอบสัญญาณ ผ่านอุปกรณ์รวมส่งสัญญาณ (MUX) ของผู้ให้บริการโครงข่าย ระหว่างวันที่ 1-24 เมษายน ปีเดียวกัน บีอีซี-มัลติมีเดีย ดำเนินการทดลองออกอากาศ รายการทั้งหมดจากไทยทีวีสีช่อง 3 ในระบบแอนะล็อก โดยคู่ขนานไปทั้ง 3 ช่องรายการในส่วนของบริษัทฯ และตั้งแต่วันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2557 ซึ่ง กสทช.กำหนดเป็นวันเริ่มต้น ออกใบอนุญาตใช้คลื่นความถี่ บีอีซี-มัลติมีเดีย ก็เริ่มออกอากาศรายการต่าง ๆ ตามผังที่กำหนดของแต่ละช่องทั้ง 3 ระหว่างเวลา 16:00 - 00:00 น. ของทุกวัน เนื่องจากผู้รับสัมปทานช่องสัญญาณที่ 32 ของโทรทัศน์ระบบแอนะล็อกเดิม ในชื่อไทยทีวีสีช่อง 3 คือ บจก.บางกอกเอ็นเตอร์เทนเม้นต์ เป็นคนละนิติบุคคลกับ ผู้รับใบอนุญาตใช้คลื่นความถี่ทั้ง 3 ของโทรทัศน์ระบบดิจิทัล คือ บจก.บีอีซี-มัลติมีเดีย จึงไม่สามารถนำรายการทั้งหมด จากช่องโทรทัศน์ระบบแอนะล็อกเดิม มาออกอากาศคู่ขนาน ทางช่องโทรทัศน์ระบบดิจิทัลทั้ง 3 ดังที่ดำเนินการมาในระยะทดสอบสัญญาณได้
เส้น 97 ⟶ 96:
 
ต่อมาในวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 กสทช. ได้มีมติให้ยุติการออกอากาศในระบบแอนะล็อกอย่างเป็นทางการ หลังจากที่สถานีโทรทัศน์ในระบบแอนะล็อกเดิม ได้แก่ [[ช่อง 7 HD|สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7]] และ[[สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส]] ได้ยุติการออกอากาศในระบบเดิมทั้งหมดไปเมื่อวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2561 [[สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก]] ได้ยุติการออกอากาศในระบบเดิมไปเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2561 [[สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย|สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์]] ได้ยุติการออกอากาศระบบเดิมเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 และ[[เอ็มคอตเอชดี|สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์]] ได้ยุติการออกอากาศระบบเดิมเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 เพื่อให้เป็นไปในทำนองเดียวกัน กสทช.​จึงมีมติให้วันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ถือเป็นวันสิ้นสุดการออกอากาศในระบบแอนะล็อกเดิมเพื่อที่จะได้นำคลื่น 700 เมกะเฮิร์ตซ์ที่ใช้งานกับระบบดิจิทัลชั่วคราว กลับมาจัดสรรใหม่ให้กิจการโทรคมนาคมเพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับระบบ [[5 จี]] ในอนาคต และได้มีมติให้ช่อง 3 ยกเลิกการออกอากาศคู่ขนานกับระบบดิจิทัลทางช่อง 33 โดยหากช่อง 3 ยังต้องการออกอากาศแบบคู่ขนาน ให้ บริษัท บีอีซี-มัลติมีเดีย จำกัด เป็นผู้จัดสรรเนื้อหาให้ช่อง 33 แต่เพียงผู้เดียว แล้วให้ บริษัท บางกอกเอ็นเตอร์เทนต์เมนต์ จำกัด นำเนื้อหาของช่อง 33 ไปออกอากาศทางระบบแอนะล็อกเดิมแทน อย่างไรก็ตาม ช่อง 3 ได้ยื่นคัดค้านมติ เนื่องจากช่อง 3 ไม่สามารถยกเลิกระบบเดิมได้ โดยมีสาเหตุมาจากยังไม่หมดสัมปทานที่ทำไว้กับ บริษัท อสมท. จำกัด (มหาชน) ซึ่งแตกต่างจากกรณีของช่อง 7 เนื่องจาก บมจ.อสมท ถือเป็นรัฐวิสาหกิจภายใต้การกำกับดูแลของสำนักนายกรัฐมนตรี จึงเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้ไม่สามารถแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงสัญญาสัมปทานได้ รวมถึงการให้ บีอีซี-มัลติมีเดีย เป็นผู้จัดสรรเนื้อหาแต่เพียงผู้เดียว ถือเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์รายการของ บางกอกเอ็นเตอร์เทนเมนต์ และ อสมท ด้วย และอาจมีผลทำให้ถูกฟ้องร้องดำเนินคดีในด้านลิขสิทธิ์ในภายหลัง อย่างไรก็ตาม ช่อง 3 รับมติของ กสทช. เพียงเรื่องเดียว คือการแยกตราสัญลักษณ์ของสถานีออกจากกัน โดยช่อง 3 ใช้วิธีการแสดงสัญลักษณ์ของระบบแอนะล็อกไว้ที่มุมล่างขวา ในขณะที่ระบบดิจิทัลยังคงยึดตำแหน่งเดิมคือมุมบนขวา
 
[[ไฟล์:Channel 3-HD33 Logo2014.png|thumb|]]
(ทั้งนี้ ตั้งแต่เที่ยงคืนวันจันทร์ที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2562 สถานีฯได้อัญเชิญตราสัญลักษณ์[[พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช 2562]] มาประดับไว้ที่มุมบนซ้าย ส่งผลให้ต้องวางแสดงสัญลักษณ์ระบบดิจิทัลไว้ที่มุมล่างขวา โดยคู่ขนานกับแสดงสัญลักษณ์ระบบแอนะล็อกไว้ที่มุมล่างขวาเช่นเดิม แต่ในวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ได้งดขึ้นตราสัญลักษณ์[[พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช 2562|พระราชพิธีบรมราชาภิเษก]] มุมบนซ้าย ในช่วงรายการสด หรือ รายการข่าว ยกเว้นวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2562 ไปจนถึงวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2562 และแสดงไปจนสิ้นสุดห้วงการจัดงานพระราชพิธีในวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2562)
=== อดีตการออกอากาศในระบบดิจิทัล ===
เส้น 150 ⟶ 149:
* '''168 ชั่วโมง''' ([[พ.ศ. 2538]]) วาไรอิตีโชว์สำหรับคนนอนดึก ปัจจุบันออกอากาศทุกวันพุธ เวลา 00.00-00.30 น. ดำเนินรายการโดย [[จอนนี่ แอนโฟเน่]], [[วิบูลย์ ลีรัตนขจร]], [[วุฒินันท์ ภิรมย์ภักดี]], [[โบ๊ท วิบูลย์นันท์]] และ [[พีรพล เอื้ออารียกูล]]
* '''[[ตีสิบ]]''' ([[4 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2540]] - ปัจจุบัน) วาไรอิตีทอล์กโชว์ ออกอากาศทุกวันอังคาร เวลา 22.30-00.30 น. ปัจจุบันมีระดับความนิยมของผู้ชม (เรตติ้ง) มากที่สุดของสถานีฯ รองจากรายการประเภทละคร มีช่วง''ดันดารา'' ที่มีชื่อเสียง ดำเนินรายการโดย [[วิทวัส สุนทรวิเนตร์]] และ [[ณปภา ตันตระกูล]]
* '''[[ชิงร้อยชิงล้าน]]''' ([[7 มกราคม]] [[พ.ศ. 2541]] - [[30 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2541]] และ [[1 มกราคม]] [[พ.ศ. 2555]] - [[28 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2558]]) รายการเกมโชว์ยอดนิยมของ[[เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์|บริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน)]] โดยในช่วงปี พ.ศ. 2541 ในยุค[[ชิงร้อยชิงล้าน ซูเปอร์เกม|ซูเปอร์เกม]] (มกราคม) และยุค[[ชิงร้อยชิงล้าน ชะช่ะช่า|ชะช่ะช่า]] (กุมภาพันธ์ - ธันวาคม) ออกอากาศทุกวันพุธ 22.00 น. ก่อนจะย้ายไปออกอากาศทาง[[ช่อง 5|TV5 HD1]] ในปี [[พ.ศ. 2542]] และอีกครั้งในช่วงปี พ.ศ. 2555 - 2558 ในยุค[[ชิงร้อยชิงล้าน ซันไชน์ เดย์|ซันไชน์ เดย์]] ออกอากาศทุกวันอาทิตย์ 14.45 น. - 16.45 น. ก่อนจะย้ายไปออกอากาศทาง[[ช่องเวิร์คพอยท์]] ตั้งแต่วันที่ [[5 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2558]]
* '''ซือกง''' ([[พ.ศ. 2541]] - ปลายปี [[พ.ศ. 2542]]) ภาพยนตร์ชุดจีนจาก[[ไต้หวัน]] ออกอากาศทุกวันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 18.30-19.30 น. สถานีฯ ทำประชาสัมพันธ์ภาพยนตร์ชุดนี้ ด้วยคำขวัญซึ่งเป็นที่นิยมในระยะต่อมาว่า "อย่าปล่อยให้คนชั่วลอยนวล"
* '''[[เกมเศรษฐี (รายการโทรทัศน์)|เกมเศรษฐี]]''' ([[4 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2543]] - [[28 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2547]]) ควิซโชว์รูปแบบตอบคำถาม [[ที่สุดในประเทศไทย|รายการแรกของประเทศไทย]] มีเงินรางวัลสูงสุด 1,000,000 บาท เพียงตอบคำถามได้ถูกต้องทั้ง 16 ข้อ ดำเนินรายการโดย ไตรภพ ลิมปพัทธ์ ต่อมาย้ายไปออกอากาศทางไอทีวี ราวปี พ.ศ. 2547