ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จังหวัดชลบุรี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
PP2014 (คุย | ส่วนร่วม)
BeckNoDa (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มข้อมูล จัดระเบียบ
บรรทัด 40:
== ประวัติศาสตร์ ==
{{ต้องการอ้างอิง-ส่วน}}
 
=== สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ===
จังหวัดชลบุรีเคยเป็นชุมชนโบราณที่เคยมีมนุษย์ยุคหินใหม่อาศัยอยู่มาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เพราะว่าเคยมีการขุดค้นด้านโบราณคดีแล้วพบร่องรอยของชุมชนโบราณก่อนประวัติศาสตร์บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำพานทองซึ่งอยู่ในบริเวณวัดโคกพนมดี ตำบลท่าข้าม อำเภอพนัสนิคม พบร่องรอยของชุมชนโบราณก่อนประวัติศาสตร์โคกพนมดี ทำให้สันนิษฐานได้ว่าในอดีตพื้นที่บริเวณจังหวัดชลบุรีเคยเป็นที่ตั้งเมืองโบราณที่มีความรุ่งเรืองถึง 3 เมือง ได้แก่ เมืองพระรถ, เมืองศรีพโล และเมืองพญาแร่ โดยอาณาเขตของ 3 เมืองนี้รวมกันเป็นจังหวัดชลบุรีในปัจจุบัน
 
ซึ่งแหล่งโบราณคดีที่ค้นพบในครั้งนั้นได้พบสิ่งมีคุณค่าทางโบราณคดีหลายอย่าง เช่น ขวานหินขัด, เครื่องประดับจำพวกกำไล, ลูกปัด [[เครื่องปั้นดินเผา]]แบบใช้เชือกทาบ และได้พบซากของอาหารทะเลอีกด้วย จึงทำให้ทราบว่าบริเวณนี้อยู่ใกล้ชายฝั่งทะเลมากกว่าปัจจุบันนี้มาก แหล่งโบราณคดีที่กล่าวอ้างทั้งหมดข้างต้นนั้นจึงเป็นหลักฐานยืนยันส่วนหนึ่งที่แสดงให้เห็นถึงความเป็นมาอันแสนยาวนานของจังหวัดชลบุรี
 
=== สมัยประวัติศาสตร์ ===
ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเมืองชลบุรีปรากฏเป็นหลักฐานในทำเนียบศักดินาหัวเมือง ตราเมื่อ พ.ศ. 1919 มีฐานะเป็นเมืองจัตวา ผู้รักษาเมืองคือ “ออกเมืองชลบุรีศรีมหาสมุทร” ศักดินา 2,400 ไร่ ส่งส่วยไม้แดง จนกระทั่งกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าเมื่อ พ.ศ. 2310 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชได้เสด็จยกทัพผ่านมาทางบริเวณจังหวัดชลบุรีในปัจจุบัน ก่อนที่จะเข้าตีเมืองจันทบุรี และยกทัพกลับไปกู้กรุงศรีอยุธยาได้สำเร็จ
 
เส้น 50 ⟶ 53:
ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงปฏิรูประบบการปกครองราชอาณาจักร โดยการจัดตั้งมณฑลเทศาภิบาล ให้อยู่ภายใต้บังคับบัญชาของกระทรวงมหาดไทยหน่วยงานเดียว จึงรวมเมืองพนัสนิคมและเมืองบางละมุงขึ้นต่อเมืองชลบุรี อยู่ในสังกัดมณฑลปราจีน ดังมีบันทึกว่า
 
{{คำพูด|"รวมหัวเมืองทางลำน้ำบางปะกง คือ เมืองปราจีนบุรี 1, เมืองนครนายก 1, เมืองพนมสารคาม 1 และเมืองฉะเชิงเทรา 1 รวม 4 หัวเมือง เป็นเมืองมณฑล 1 เรียกว่า มณฑลปราจีน ตั้งที่ว่าการมณฑล ณ เมืองปราจีน ต่อเมื่อโอนหัวเมืองในกรมท่ามาขึ้นกระทรวงมหาดไทย จึงย้ายที่ทำการมณฑลลงมาตั้งที่เมืองฉะเชิงเทรา เพราะขยายอาณาเขตมณฑลต่อลงไปทางชายทะเล รวมเมืองพนัสนิคม, เมืองชลบุรี และเมืองบางละมุง เพิ่มให้อีก 3 รวมเป็น 7 เมืองด้วยกัน แต่คงเรียกชื่อว่ามณฑลปราจีนอยู่ตามเดิม"}}
 
ต่อมาในสมัยหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองปี พ.ศ. 2475 มีการเปลี่ยนแปลงรูปการปกครองประเทศครั้งใหญ่โดยพระราชบัญญัติระเบียบราชการบริหารแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2476 ระบบมณฑลเทศาภิบาลถูกยกเลิก ทำให้จังหวัดกลายเป็นหน่วยการปกครองส่วนภูมิภาคระดับสูงสุด
เส้น 174 ⟶ 177:
:{{note label|B|ข}} [[เทศบาลนครแหลมฉบัง]]ตั้งอยู่ทั้งใน[[อำเภอบางละมุง]]และใน[[อำเภอศรีราชา]]
</div>
 
== เศรษฐกิจ ==
{{โครง-ส่วน}}
 
== ประชากร ==
เส้น 195 ⟶ 201:
ตามข้อมูลจำนวนประชากรของสำนักทะเบียนกลาง [[กรมการปกครอง]] ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 จังหวัดชลบุรีมีประชากร 1,509,125 คน<ref name="statbora"/> คิดเป็นอันดับที่ 10 ของประเทศ โดยแบ่งเป็นประชากรเพศชาย 696,038 คน และประชากรเพศหญิง 725,387 คน<ref name="statbora"/> มีความหนาแน่นประชากรโดยเฉลี่ย 345.89 คนต่อตารางกิโลเมตร ซึ่งมากเป็นอันดับที่ 10 ของประเทศ อำเภอที่มีจำนวนประชากรมากที่สุดและมีความหนาแน่นมากที่สุด คือ อำเภอเมืองชลบุรี มีประชากรอาศัยอยู่ 330,156 คน มีความหนาแน่น 1,442.98 คนต่อตารางกิโลเมตร ในขณะที่อำเภอที่มีประชากรน้อยที่สุด คือ อำเภอเกาะสีชัง มีประชากรอาศัยอยู่ 4,580 คน ส่วนอำเภอที่ประชากรเบาบางที่สุด คือ อำเภอหนองใหญ่ ซึ่งมีความหนาแน่นประชากรเฉลี่ย 59.44 คนต่อตารางกิโลเมตร
 
จากการสำรวจในปี พ.ศ. 2558<ref name=Religion>[http://cbi.onab.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=327&Itemid=206 ข้อมูลผู้นับถือศาสนาพุทธ ในจังหวัดชลบุรี] สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดชลบุรี</ref> ประชากรจังหวัดชลบุรีประมาณร้อยละ 97.87 นับถือ[[ศาสนาพุทธในประเทศไทย|ศาสนาพุทธ]] รองลงมาเป็น[[ศาสนาอิสลามในประเทศไทย|ศาสนาอิสลาม]]ร้อยละ 1.56 และ[[ศาสนาคริสต์ในประเทศไทย|ศาสนาคริสต์]]ร้อยละ 0.60
== โครงสร้างพื้นฐาน ==
 
=== การขนส่ง ===
{|Class="wikitable" border="1" cellpadding="2" cellspacing="0" align="right"
!bgcolor="efefef"|ศาสนา
!bgcolor="efefef"|จำนวน (คน)<ref name=Religion></ref>
!bgcolor="efefef"|ร้อยละ
|-
|style="background:#FFFFC0;"|[[ศาสนาพุทธในประเทศไทย|พุทธ]]||1,256,081||97.87
|-
|style="background:#E0FFC0;"|[[ศาสนาอิสลามในประเทศไทย|อิสลาม]]||20,000||1.56
|-
|style="background:#E0F0FF;"|[[ศาสนาคริสต์ในประเทศไทย|คริสต์]]||7,707||0.60
|-
|style="background:#F0E0F0;"|อื่น ๆ||800||0.06%
|}
 
{{multiple image
| align = center
| direction = horizontal
 
| image1 = Wat Yansangwararam วัดญาณสังวราราม 2562 01.jpg
| caption1 = วัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร ตำบลห้วยใหญ่ [[อำเภอบางละมุง]]
| width1 = 150
 
| image2 = เขาชีจรรย์.jpg
| caption2 = เขาชีจรรย์ ตำบลนาจอมเทียน อำเภอบางละมุง
| width2 = 112
 
| image3 = Wat Tham Nimit Chonburi Thailand.JPG
| caption3 = วัดธรรมนิมิตต์ ตำบลบ้านสวน อำเภอเมืองชลบุรี
| width3 = 150
}}
 
=== การขนส่ง ===
จังหวัดชลบุรีเป็นจังหวัดที่มีเส้นทางคมนาคมที่ดีจังหวัดหนึ่งของประเทศ โดยมีระบบการขนส่งทั่วถึงและสะดวกทั้งการขนส่งทางบก ทางเรือ และทางอากาศ รวมทั้งมีการขนส่งทางท่อสำหรับสินค้าเหลว ได้แก่ น้ำมันและสารเคมี การขนส่งของจังหวัดชลบุรีในปัจจุบันอาศัยทางบกเป็นหลัก นอกจากนั้นยังมีการขนส่งทางเรือและทางอากาศ ซึ่งสามารถพัฒนาศักยภาพให้เพิ่มขึ้นได้อย่างต่อเนื่อง
 
จังหวัดชลบุรีมีท่าอากาศยานขนาดเล็ก 1 แห่งคือ [[สนามบินบางพระ]] ตั้งอยู่ใน[[อำเภอศรีราชา]] เป็นสนามฝึกซ้อมสำหรับเครื่องบินลำเล็ก จึงไม่ได้เปิดให้บริการขนส่งทางอากาศเพื่อการพาณิชย์ทั่วไป
 
[[ไฟล์:Laem Chabang.jpg|220px|thumb|leftright|ป้ายท่าเรือแหลมฉบัง]]
เนื่องจากจังหวัดชลบุรีมีสภาพภูมิศาสตร์เอื้ออำนวยต่อการขนส่งทางทะเล กล่าวคือด้านตะวันตกของจังหวัดเป็นชายฝั่งที่มีแนวยาวระยะทางหลายร้อยกิโลเมตร โดยหลายแห่งเป็นชายหาดที่งดงาม และบางแห่งเหมาะจะเป็นท่าจอดเรือ ส่งผลให้ชายฝั่งทะเลของจังหวัดมีท่าเทียบเรือประมงและท่าเทียบเรือสินค้า ทั้งที่เป็นท่าเทียบเรือของเอกชนและท่าเทียบเรือพาณิชย์สำหรับขนส่งสินค้าไปต่างประเทศ รวมถึงการขนส่งสินค้าเลียบตามชายฝั่งทะเลตะวันออกเข้าสู่ท่าเรือกรุงเทพฯ
 
การขนส่งทางรถไฟของจังหวัดชลบุรีอาศัยเส้นทางรถไฟสายตะวันออก โดยเริ่มต้นจากกรุงเทพฯ-ฉะเชิงเทรา-อำเภอกรุงเทพมหานคร–ฉะเชิงเทรา–ศรีราชา เมื่อรัฐบาลมีโครงการพัฒนาพื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเลตะวันออก [[การรถไฟแห่งประเทศไทย]]จึงดำเนินการก่อสร้างทางรถไฟสายนี้ขึ้น เพื่อรองรับการขนส่งสินค้าจากท่าเรือน้ำลึกสัตหีบ, ท่าเรือน้ำลึกนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง และท่าเรือน้ำลึกนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด
 
[[ไฟล์:ทางแยกต่างระดับชลบุรี มุ่งหน้าพัทยา.jpg|220px|thumb|right|[[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7]]]]
การขนส่งทางรถยนต์เป็นระบบการคมนาคมสำคัญที่สุดของจังหวัดชลบุรี และมีบทบาทมากขึ้นเรื่อย ๆ ในปัจจุบัน โครงข่ายนี้อยู่ในความรับผิดชอบของ[[กรมทางหลวง]] โดยจังหวัดชลบุรีมีถนนที่สร้างเสร็จแล้วเป็นระยะทาง 745.497 กิโลเมตร เป็นทางหลวงแผ่นดินรวมระยะทาง 745.497 กิโลเมตร และระยะทางต่อ 2 ช่องจราจรคิดเป็นระยะทาง 1,191.408 กิโลเมตร ทางหลวงสายหลักของจังหวัดชลบุรี เช่น [[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7]], [[ถนนสุขุมวิท]] (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3) เป็นต้น
 
=== การศึกษา ===
[[ไฟล์:BU Entrance.jpg|thumb|right|มหาวิทยาลัยบูรพา]]
 
จังหวัดชลบุรีมีมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ได้แก่
{{div col|cols=2}}
* [[มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา]]
* [[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก]] วิทยาเขตบางพระ
เส้น 222 ⟶ 262:
 
นอกจากนี้ ยังมีสถาบันและวิทยาลัยอื่น ๆ ได้แก่
{{div col|cols=3}}
* [[มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ]] วิทยาเขตชลบุรี
* [[วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร]] จังหวัดชลบุรี
เส้น 248 ⟶ 288:
;โรงเรียน
{{ดูเพิ่มที่|รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดชลบุรี}}
 
== วัฒนธรรม ==
{{โครง-ส่วน}}
 
== กีฬา ==
[[ไฟล์:Chonburi stadium.JPG|220px|thumb|right|[[ชลบุรีสเตเดียม]]]]
จังหวัดชลบุรีมีทีมฟุตบอลอาชีพซึ่งปัจจุบันเล่นอยู่ใน[[ไทยลีก]]เพียงทีมเดียว คือ [[สโมสรฟุตบอลชลบุรี]] ซึ่งเป็นทีมใน[[อำเภอเมืองชลบุรี]] มีผลงานได้เป็นแชมป์ประเทศไทยหนึ่งสมัยในปี พ.ศ. 2550 และเป็นตัวแทนไปแข่งในเขตเอเชียใน[[เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก]] ส่วน[[สโมสรฟุตบอลราชนาวี]]ใน[[อำเภอสัตหีบ]]นั้น กำลังแข่งขันใน[[ไทยลีก 2]]