ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อโศกเหลือง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แก้วน้ำ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น การแก้ไขแบบเห็นภาพ
ย้อนการแก้ไขของ แก้วน้ำ (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Sry85
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
บรรทัด 17:
|}}
 
'''อโศกเหลือง''', '''โสกเหลือง''' หรือ '''ศรียะลา''' ({{ชื่อวิทยาศาสตร์|Saraca thaipingensis}}) เป็นไม้ต้นไม่ผลัดใบชนิดหนึ่งใน[[วงศ์ถั่ว]] (Fabaceae) ดอกสีเหลืองอมน้ำตาล มีถิ่นกำเนิดใน[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]]
{| class="wikitable"
|ชื่อไทย :
|ศรียะลา
|-
|ชื่อท้องถิ่น :
|โสกเหลือง(กทม.)/ อโศกเหลือง,อโศกใหญ่ (ใต้)
|-
|ชื่อสามัญ :
|
|-
|ชื่อวิทยาศาสตร์ :
|Saraca thaipingensis Cantley ex Prain
|-
|ชื่อวงศ์ :
|CAESALPINIACEAE
|-
|ลักษณะวิสัย :
|ไม้ยืนต้น
|-
|ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
|ลำต้น :
 
ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดกลาง สูง 10-15 เมตร ไม่ผลัดใบ เรือนยอดกลมทึบ เปลือกเรียบสีเทาอมน้ำตาล มีช่องระบายอากาศเป็นตุ่มกระจายทั่วลำต้น    
 
ใบ :
 
ประกอบแบบขนนก ปลายคู่ เรียงสลับ ใบย่อย 2-7 คู่ เรียงตรงข้าม ใบรูปรี รูปขอบขนานแกมรูปใบหอกหรือรูปไข่ กว้าง 3-9 ซม. ยาว 7-32 ซม. ปลายใบแหลมหรือเรียวแหลม โคนใบมนหรือสอบเรียวผิวใบด้านบนมองเห็นเส้นแขนงใบเป็นร่องลึกชัดเจนข้างละ 10-12 เส้น ก้านใบย่อยยาว 3-5 มม.
 
ดอก :
 
สีเหลืองสด กลีบเลี้ยง 4 กลีบ ไม่มีกลีบดอก ดอกบานไม่พร้อมกัน ดอกที่บานแล้วจะมีสีเข้มกว่าดอกอ่อน เกสรเพศผู้ 3-6 อัน ส่วนใหญ่มี 4 อัน ออกรวมเป็นช่อแบบช่อเชิงหลั่นที่ปลายกิ่งและลำต้น ช่อดอกกว้าง 15-40 ซม. ใบประดับร่วงง่าย ดอกบานเต็มที่กว้าง 1-1.5 ซม. มีกลิ่นหอม
 
ผล :
 
เป็นฝักแห้งแตกแบน รูปขอบขนานแกมรูปใบหอก ผิวสีแดงปนน้ำตาล ปลายฝัก โค้งทั้งสองด้าน กว้าง 3.5-8 ซม. ยาว 15-40 ซม.  เมล็ด รูปไข่แกมรูปขอบขนานมี 2-3 เมล็ด
|-
|ระยะติดดอก - ผล :
|
{| class="wikitable"
|เริ่มติดดอก :
|กุมภาพันธ์
|สิ้นสุดระยะติดดอก :
|มีนาคม
|-
|เริ่มติดผล :
|มีนาคม
|สิ้นสุดระยะติดผล :
|พฤษภาคม
|}
|-
|สภาพทางนิเวศวิทยา :
|นิเวศวิทยา ป่าดิบชื้นและบริเวณริมน้ำ ถิ่นกำเนิด การกระจายพันธุ์ การใช้งานด้านภูมิทัศน์ นิยมปลูกประดับในสวน เพราะสีดอกสดใส ควรปลูกใกล้ศาลาและลานนั่งเล่น
|-
|การปลูกและการขยายพันธุ์ :
|สภาพดินร่วน ชอบน้ำและความชื้นสูง โตช้า เจริญเติบโตได้ดีในที่ชุ่มชื้น แสงแดดจัดหรือรำไร เพาะเมล็ด
|-
|รายละเอียดการใช้ประโยชน์ :
| - ดอกแก้ไอ ขับเสมหะ [1]
|-
|แหล่งอ้างอิง :
|[1] วชิรพงศ์ หวลบุตตา. 2542. ไม้ต้นประดับ เล่ม 1-2. พิมพ์ครั้งแรก. สำนักพิมพ์บ้านและสวน. กรุงเทพมหานคร. [2] เอื้อมพร วีสมหมาย และปณิธาน แก้วดวงเทียน. 2552. ไม้ป่ายืนต้นของไทย 1. พิมพ์ครั้งที่ 2. เอช เอ็น กรุ๊ป จำกัด. กรุงเทพมหานคร. [3] ต้นไม้และดอกไม้ประจำจังหวัด <nowiki>http://www.panmai.com/</nowiki> 23082553
|-
|ประเภทของการใช้ประโยชน์ :
|ไม่ได้ระบุประเภทการใช้ประโยชน์
|-
|ที่อยู่ :
|
{| class="wikitable"
|Zone A :
|โดมไม้เขตร้อนชื้น
|-
|Zone A :
|สวนป่าเขตร้อน
|-
|Zone B :
|สวนไม้ประจำจังหวัด
|-
|Zone B :
|สวนไม้หอม
|-
|Zone C1 :
|สวนพฤกษศาสตร์
|}
|}
{{ต้นไม้พระราชทาน}}