ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วรงค์ เดชกิจวิกรม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
นิลกาฬ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล ผู้นำประเทศ
| name = นายแพทย์ วรงค์ เดชกิจวิกรม
| image = วรงค์ เดชกิจวิกรม.jpg
| imagesize = 200 px
บรรทัด 20:
|chief exe=}}
 
'''นายแพทย์ '''วรงค์ เดชกิจวิกรม''' อดีต​[[นักการเมือง]][[ชาวไทย]] อดีต[[แพทย์]] และ​ [[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก]] สังกัด[[พรรคประชาธิปัตย์]] ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง[[ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร]][[พรรครวมพลังประชาชาติไทย]]
 
ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง[[ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร]][[พรรครวมพลังประชาชาติไทย]] ซึ่งเป็นตำแหน่งใหม่ โดยรับผิดชอบงานรณรงค์ให้ความรู้ทางการเมืองแก่ประชาชนและร่วมต่อต้านลัทธิชังชาติ
 
== ประวัติ ==
น.พ. วรงค์ เดชกิจวิกรม มีชื่อเล่นว่า "โก๋"<ref name="บ้าน"/> เกิดเมื่อวันที่ [[1 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2504]] ที่[[อำเภอเมืองสุโขทัย]] [[จังหวัดสุโขทัย]] สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษา จาก[[โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร]] กรุงเทพมหานคร ระดับปริญญาตรี แพทยศาสตรบัณฑิต จาก[[มหาวิทยาลัยสยาม|มหาวิทยาลัยเชียงใหม่]] ระดับปริญญาโท สาขารัฐประศาสนศาสตร์ จาก[[สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์]] ([[NIDA]]) และวุฒิบัตรแพทย์ผู้ชำนาญเฉพาะทาง สาขาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา จาก[[มหาวิทยาลัยเชียงใหม่]]<ref>[http://mp.parliament.go.th/map2550/person_detail.aspx?id=4OIb2XxH4VVryksKfl1jkg== สภาผู้แทนราษฎร]</ref> ซึ่งในขณะศึกษานั้น ได้รับเลือกให้เป็นนายกสโมสรนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (อ.มช.) อีกด้วย
 
ด้านชีวิตครอบครัว น.พ.วรงค์ สมรสกับแพทย์หญิง สุวรี เดชกิจวิกรม (ชื่อเล่น: น้อง) โดยทั้งคู่คบหากันมาตั้งแต่สมัยเรียนระดับชั้นอุดมศึกษา มีบุตร-ธิดา 2 คน<ref name="บ้าน">''บ้านนี้สีฟ้า รีรัน'', รายการทางบลูสกายแชนแนล: เสาร์ที่ 29 มิถุนายน 2556</ref>
 
== การทำงาน ==
=== การรับราชการ ===
น.พ.วรงค์ เคยรับราชการเป็นนายแพทย์ สังกัด[[กระทรวงสาธารณสุข]] และเคยดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงพยาบาลโซ่พิสัย [[จ.หนองคาย]] เป็นผู้อำนวยการโรงพยาบาลพรเจริญ จ.หนองคาย เป็นผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงพยาบาลพุทธชินราช [[จ.พิษณุโลก]] ต่อมาจึงได้ลาออกจากราชการเพื่อเข้าสู่งานการเมือง
 
=== งานการเมือง ===
น.พ.วรงค์ เริ่มต้นงานการเมืองภายหลังลาออกจากราชการ โดยแรกเริ่มอยู่ในสังกัด[[พรรคไทยรักไทย]] (ทรท.) แต่ทว่าได้ลาออกจากพรรคไทยรักไทย เมื่อทางพรรคได้เปลี่ยนแปลงตัวผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก เมื่อปี พ.ศ. 2547 ดังนั้น เจ้าตัวจึงย้ายไปอยู่ในสังกัด[[พรรคประชาธิปัตย์]] (ปชป.) แทน และได้รับเลือกตั้งเป็น[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก]] ในการเลือกตั้งปี พ.ศ. 2548 และได้รับเลือกตั้งอีกในปี พ.ศ. 2550 และ พ.ศ. 2554<ref>[http://region4.prd.go.th/ewt_news.php?nid=4648&filename=index ผลการเลือกตั้ง ส.ส. จังหวัดพิษณุโลก]</ref> สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เขาเคยได้รับแต่งตั้งเป็นรองโฆษกพรรคประชาธิปัตย์ และเป็นรองประธานคณะกรรมาธิการสาธารณสุข สภาผู้แทนราษฎร เขามีบทบาทในการตรวจสอบการทำงานของ[[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 60|รัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร]] ในเรื่องนโยบายจำนำข้าว และเป็นที่ยอมรับของฝ่ายค้านด้วยกัน<ref>[http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9560000017947 วิปค้านยกนิ้ว “วรงค์” บี้โกงจำนำข้าว ตอก “เจริญ” ไม่เป็นกลาง หวังลักไก่ล้างผิด]</ref>
 
น.พ.วรงค์ มีบทบาทในการตรวจสอบการทำงานของรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ในเรื่องนโยบายจำนำข้าว และเป็นที่ยอมรับของฝ่ายค้านด้วยกัน<ref>[http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9560000017947 วิปค้านยกนิ้ว “วรงค์” บี้โกงจำนำข้าว ตอก “เจริญ” ไม่เป็นกลาง หวังลักไก่ล้างผิด]</ref>
 
กระทั่งวันอังคารที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 นายแพทย์วรงค์ได้ยื่นหนังสือลาออกจากการเป็นสมาชิก [[พรรคประชาธิปัตย์]] ต่อนาย [[จุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์]] หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์โดยให้มีผลทันที <ref> [https://www.thaipost.net/main/detail/50757 คอนเฟิร์ม'หมอวรงค์'ลาออกพ้นสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์] </ref> และเตรียมแถลงชี้แจงเหตุผลการลาออกจากพรรคประชาธิปัตย์ในวันเสาร์ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 <ref> [https://www.naewna.com/politic/455337 ปชป.กระเพื่อมอีกแล้ว! ช็อก'หมอวรงค์'ยื่นหนังสือลาออกจากสมาชิกพรรค] </ref> โดยในวันเดียวกัน เขาได้สมัครเป็นสมาชิก[[พรรครวมพลังประชาชาติไทย]] (รปช.) แบบตลอดชีพ <ref> [https://tnnthailand.com/content/22298 ‘หมอวรงค์’ ย้ายซบเป็นสมาชิกพรรครวมพลังประชาชาติไทย] </ref>
 
และในปัจจุบัน นายแพทย์วรงค์ยังได้กล่าวโจมตีคนของพรรคการเมืองขั้วตรงข้ามอยู่อย่างต่อเนื่องโดยใช้การล้มเจ้าหรือล้มระบอบกษัตริย์มาเป็นประเด็นในการกล่าวหา ( หรือที่รู้จักกันในนามการ ‘โหน’ ) โดยอ้างว่าพรรคขั้วตรงข้ามเป็นพวกชังชาติและคิดล้มล้างระบอบกษัตริย์ เนื่องจากในสมัยที่นายแพทย์วรงค์ยังอยู่กับพรรคประชาธิปัตย์ ตนได้สอบตกและพ่ายแพ้ให้กับ สส.จังหวัดพิษณุโลกของพรรคที่กล่าวอ้าง จึงอาจเป็นเหตุให้ตนพยายามเข้ามามีบทบาททางการเมืองโดยการโจมตีไปยังหัวหน้าพรรคและรองหัวหน้าพรรคนั้น อีกทั้งยังบล็อกคนเห็นต่างในเพจเฟซบุ๊กของตน ซึ่งการไม่รับฟังความเห็นต่างจากประชาชนก็นับได้ว่าเป็นสิ่งที่ผิดจากระบอบประชาธิปไตย
 
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==