ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เครื่องตัดไฟรั่ว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wut456 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Wut456 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
 
* เครื่องตัดไฟรั่วแบบตรวจจับแรงดัน: ทำงานโดยวัดศักย์ไฟฟ้าที่ตัวถังโลหะของเครื่องใช้เทียบกับ[[หลักดิน]]ที่ติดตั้งแยกต่างหาก หากมีความต่างศักย์มากเกินค่าที่กำหนดไว้ (ปกติจะตั้งไว้ที่ 50 โวลต์) ก็จะทำการตัดไฟ, ปัจจุบันเครื่องตัดไฟรั่วชนิดนี้ไม่นิยมใช้แล้ว เนื่องจากความยุ่งยากในการติดตั้ง (ต้องต่อสายแยกจากตัวถังเครื่องไฟฟ้ามาที่เครื่องตัดไฟรั่ว และต่อสายจากเครื่องตัดไฟรั่วไปยังหลักดิน) และการป้องกันที่ไม่ครอบคลุมในกรณีที่เกิดการรั่วจากตัวถังส่วนที่ไม่ได้ทำการวัด
* เครื่องตัดไฟรั่วแบบตรวจจับกระแส: ทำงานโดยการเทียบปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ไหลเข้าวงจรกับปริมาณที่ไหลออกจากวงจร หากปริมาณไหลออกน้อยกว่าที่ไหลเข้า แสดงว่าในวงจรมีไฟฟ้ารั่วไหลออกไปภายนอก, หากปริมาณการรั่วไหลมากเกินที่กำหนดไว้ (ปกติจะตั้งไว้ที่ 30 มิลลิแอมป์) ก็จะทำการตัดไฟ, เครื่องตัดไฟรั่วประเภทนี้จะไม่ใช้หลักดิน ทำให้สามารถติดตั้งได้แม้ในระบบไฟฟ้าที่ไม่มีสายดิน[[ไฟล์:Schneider electric 50 amp rcbo.jpg|thumb|เบรกเกอร์ชนิด RCBO ป้องกันกระแสเกิน 50A และจับกระแสไฟรั่วที่ 30mA ยี่ห้อชไนเดอร์]]
*ในปัจจุบันอุปกรณ์ตัดไฟรั่วมักถูกติดตั้งกับ Main Breaker ในตู้Load Centre ของอาคารในชื่อเรียก RCCB หรือ RCBO แทนคำเรียก ELCB
*สำหรับประเภท RCCB '''(residual-current circuit breaker)''' นั้นมีความสามารถเพียงป้องกันไฟฟ้ารั่วเท่านั้น เหมาะสำหรับใช้เป็นเบรกเกอร์เครื่องทำน้ำอุ่นสำหรับรุ่นเก่าที่ไม่มี ELCB แต่สำหรับแบบ RCBO จะมีความสามารถในการตัดกระแสเกินเช่นเดียวกันกับ Breaker แบบธรรมดาด้วยจึงทำให้ Main Breaker อาคารในประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นแบบ RCBO
{{โครง}}<br />
 
[[ไฟล์:Schneider electric 50 amp rcbo.jpg|thumb|เบรกเกอร์ชนิด RCBO ป้องกันกระแสเกิน 50A และจับกระแสไฟรั่วที่ 30mA ยี่ห้อชไนเดอร์]]
<br />
 
[[หมวดหมู่:อุปกรณ์ไฟฟ้า]]
{{โครง}}