ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 50:
| รัฐมนตรี10_ชื่อ =
| รัฐมนตรี10_ตำแหน่ง =
| หัวหน้า1_ชื่อ = พลเรือตรี [[สมเกียรติ ผลประยูร]]</br>
| หัวหน้า1_ตำแหน่ง = เลขาธิการ
| หัวหน้า2_ชื่อ = ประสิทธิ์ ชูเมือง<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/E/101/19.PDF</ref>
บรรทัด 92:
| แผนที่_บรรยาย =
}}
'''ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้''' ({{lang-en|Southern Border Provinces Administration Centre}}) หรือเรียกโดยย่อว่า '''ศอ.บต.''' ({{lang-en|SBPAC}}) เป็นองค์กรพิเศษที่รัฐบาล[[เปรม ติณสูลานนท์|พลเอกเปรม ติณสูลานนท์]] ก่อตั้งขึ้นในปี [[พ.ศ. 2524]] ต่อมาได้รับการยกฐานะเป็นนิติบุคคล อยู่ในบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรี ตามพระราชบัญญัติการบริหารราชการจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2553
 
== ประวัติ ==
บรรทัด 100:
 
=== การยุบ ศอ.บต. ===
ต่อมาเมื่อวันที่ [[30 เมษายน]] [[พ.ศ. 2545]] รัฐบาล พ.ต.ท.[[ทักษิณ ชินวัตร]] ได้ปรับยุทธศาสตร์ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยมีคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรีที่ 123/2545 ยุบ ศอ.บต. คณะกรรมการอำนวยการแก้ไขปัญหาความมั่นคงจังหวัดชายแดนภาคใต้ สำนักงานคณะกรรมการอำนวยการแก้ไขปัญหาความมั่นคงจังหวัดชายแดนภาคใต้ และ พตท.43 <ref>http://www2.eppo.go.th/admin/cab/cab-2545-04-30.html#17</ref>ตามคำเสนอแนะของพล.ต.อ.[[สันต์ ศรุตานนท์]] [[สำนักงานตำรวจแห่งชาติ|ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ]] เมื่อวันที่ [[30 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2545]] และให้โอนอำนาจของคณะกรรมการการอำนวยการแก้ไขปัญหาความมั่นคงจังหวัดชายแดนภาคใต้ ไปเป็นของ[[สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ|สภาความมั่นคงแห่งชาติ]] อำนาจของ ศอ.บต. เป็นของกระทรวงมหาดไทย และอำนาจของ พตท.43 เป็นของกองทัพภาคที่ 4 / กอ.รมน.ภาค 4
 
=== การจัดตั้งหน่วยงานใหม่ ===
บรรทัด 107:
สืบเนื่องจากสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้เกิดขึ้นและดำเนินการอย่างต่อเนื่องและความรุนแรงของการก่อเหตุในช่วงแรกยังอยู่ในระดับต่ำ แต่สันนิษฐานว่า การปลูกฝังอุดมการณ์การปรับเปลี่ยน และการเตรียมจัดตั้งองค์กรใหม่ น่าจะอยู่ในช่วงแห่งการฝังตัว จนเมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2547 ได้เกิดเหตุปล้นกองพันพัฒนาที่ 4 อำเภอเจาะไอร้อง และเกิดเหตุการณ์กรือเซะ เมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2547 มีผู้เสียชีวิต 108 คน รวมทั้งเหตุการณ์ที่ตากใบ เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2547 มีผู้เสียชีวิต 85 คน จึงได้มีการจัดตั้งหน่วยงานขึ้นอีกครั้ง ตามคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 207/2549 จัดตั้ง ศอ.บต. ขึ้น และได้แต่งตั้งให้นายพระนาย สุวรรณรัฐ ดำรงตำแหน่ง ผอ.ศอ.บต. เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549
 
เมื่อวันที่ [[9 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2552]] [[คณะรัฐมนตรี]] มีมติเห็นชอบให้ '''[[ภาณุ อุทัยรัตน์]]''' ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นรองปลัดกระทรวงมหาดไทย และผู้อำนวยการ'''ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้''' (ผอ.ศอ.บต.)
 
ในปี พ.ศ. 2553 ได้มีพระราชบัญญัติการบริหารราชการจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2553 กำหนดให้มีคณะกรรมการยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ (กพต.) โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน และมีหน่วยงานสำนักงานคือ ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) เป็นนิติบุคคล ไม่ขึ้นต่อสำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม อยู่ในบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรี
บรรทัด 118:
=== ผู้อำนวยการ ศอ.บต. ===
{{โครง-ส่วน}}
* [[บัญญัติ จันทน์เสนะ]] - ([[พ.ศ. 2543]] - [[พ.ศ. 2545]])
* [[พระนาย สุวรรณรัฐ]] - [[1 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2549]] - [[พ.ศ. 2552]]
* [[ภาณุ อุทัยรัตน์]] - [[9 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2552]] - [[29 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2553]]
 
=== ทำเนียบเลขาธิการ ศอ.บต. ===
บรรทัด 129:
|-
| valign = "top" | 1. [[ภาณุ อุทัยรัตน์]]
| valign = "top" | [[พ.ศ. 2554]] - [[11 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2554]] <br> [[24 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2557]] - [[27 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2557]] (รักษาการ) <br> [[27 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2557]] - 30 กันยายน พ.ศ. 2559
|-
| valign = "top" | 2. พันตำรวจเอก [[ทวี สอดส่อง]]
| valign = "top" | [[11 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2554]]<ref>[http://media.thaigov.go.th/sitedirectory/471/2027/2027_62840_18.10.54.doc มติคณะรัฐมนตรี]</ref> - [[24 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2557]]
|-
| valign = "top" | 3. [[ศุภณัฐ สิรันทวิเนติ]]
| valign = "top" | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2559 - 30 กันยายน พ.ศ. 2561
|-
| valign = "top" | 4. พลเรือตรี [[สมเกียรติ ผลประยูร]]
| valign = "top" | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2561 - ปัจจุบัน
|-
|}
 
== บทบาทหน้าที่ ==
ศอ.บต. ก่อตั้งขึ้นตามคำสั่ง[[สำนักนายกรัฐมนตรี]] ที่ 8/2524 ลงวันที่ [[20 มกราคม]] [[พ.ศ. 2524]] ต่อมาได้มีคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 56/2539 ลงวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2539 กำหนดบทบาทให้ ศอ.บต. ทำหน้าที่คล้ายกับเป็นรัฐบาลส่วนหน้า มาตั้งหน่วยอำนวยการอยู่ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยจำลองหน่วยงานอำนวยการด้านแผนงาน แผนเงิน และแผนคน ของรัฐบาลกลางมาอยู่ด้วยกัน สามารถสรุปภารกิจของ ศอ.บต. ได้ 3 ประการ คือ
 
# ระดมส่วนราชการและหน่วยงาน รัฐวิสาหกิจมาดำเนินการพัฒนา และแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ให้สนองตอบนโยบายความมั่นคงแห่งชาติเกี่ยวกับจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยอาศัยระบบการประสานแผนเป็นเครื่องมือหลัก เพื่อแปรนโยบายสู่การปฏิบัติ รวมทั้งใช้ระบบการประสานงาน รวมทั้งดำเนินมาตรการ ต่าง ๆ เป็นเครื่องมือกำกับการดำเนินงานให้เป็นไปตามนโยบาย ฯ