ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กางเขนเหล็ก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:German_Cross.svg|thumb|220px|right|กางเขนเหล็กแบบมาตรฐาน]]
[[ไฟล์:Brandenburg Gate Quadriga at Night.jpg|thumb|220px|right|รูปหล่อทูตสวรรค์บนรถม้าชูคทามีตรากางเขนเหล็กเหนือ[[ประตูบรันเดินบวร์ค]]ในกรุงเบอร์ลิน]]
'''กางเขนเหล็ก''' ({{lang-de|Eisernes Kreuz}}, ''ไอเซอร์เนส ครอยซ์'') เป็นเครื่องหมายเครื่องเกียรติยศทางทหารที่เกิด สถาปนาขึ้นในสมัย[[ราชอาณาจักรปรัสเซีย]] ซึ่งใช้เรื่อยมาในยุค[[จักรวรรดิเยอรมัน]] (ค.ศ. 1871–1918) และ[[นาซีเยอรมนี]] (ค.ศ. 1933–1945) เครื่องหมายเครื่องเกียรติยศนี้เมื่อแรกเริ่มถูกสถาปนาขึ้นเป็นเหรียญอิสริยาภรณ์โดย[[พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 3 แห่งปรัสเซีย]] ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1813<ref name="Militaria Lexikon">{{Cite web |title=Eisernes Kreuz 1813 - 1.Klasse|publisher=Militaria Lexikon |accessdate=28 October 2016 |language=de |url=http://www.militaria-lexikon.de/katalog/vor1914/vor_EK11813/militaria-lexikon_de_-_eiserne.html}}</ref> ระหว่าง[[สงครามนโปเลียน]] เหรียญอิสริยาภรณ์นี้เป็นถูกจ่ายเป็นบำเหน็จแก่ทหารใน[[สงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย]], [[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]], [[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ซึ่งพลเรือนที่ร่วมปฏิบัติการทางทหารก็อาจได้รับด้วยเช่นกัน
 
[[ไฟล์:EK-1813-1870.jpg|thumb|220px|right|เหรียญตรากางเขนเหล็ก]]
นอกจากกางเขนเหล็ก ยังมีอีกตราหนึ่งที่ชื่อว่า '''กางเขนดำ''' ({{lang-|de|''Schwarzes Kreuz''}}) ออกแบบโดย[[คาร์ล ฟรีดริช ชิงเกิล]] อาศัยเค้าโครงของตรากางเขนเหล็กของพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 3<ref name="Nungesser 1987 22&29">Michael Nungesser, ''{{lang|de|Das Denkmal auf dem Kreuzberg von Karl Friedrich Schinkel}}'', ed. on behalf of the Bezirksamt Kreuzberg von Berlin as catalogue of the exhibition {{lang|de|„Das Denkmal auf dem Kreuzberg von Karl Friedrich Schinkel“}} in the {{lang|de|Kunstamt Kreuzberg / Künstlerhaus Bethanien Berlin}}, between 25 April and 7 June 1987, Berlin: Arenhövel, 1987, pp.&nbsp;22 and 29. ISBN 3-922912-19-2.</ref> ตรากางเขนดำปรากฏควบคู่กับตราเหยี่ยวดำอยู่บนธงสงครามของปรัสเซีย กางเขนดำถูกใช้เป็นตราประจำกองทัพปรัสเซียและเยอรมนีตั้งแต่ ค.ศ. 1871 จนถึง 1918 และถูกแทนที่ด้วยตรา ''[[บัลเคนครอยซ์]]'' (''Balkenkreuz'') อย่างไรก็ตามในปี ค.ศ. 1956 ได้มีการฟื้นฟูตรากางเขนดำมาเป็นตราประจำ[[บุนเดซเวร์นเดิสแวร์]] ซึ่งยังคงใช้มาจนถึงทุกวันนี้
 
ในค.ศ. 1980 รัฐบาลเยอรมนีตะวันตกได้สถาปนาอิสริยาภรณ์ที่มีชื่อว่า ''[[เหรียญเกียรติยศแห่งบุนเดซเวร์นเดิสแวร์]]'' ({{lang|de|''Ehrenzeichen der Bundeswehr''}}) ซึ่งมีลักษณะตามแบบกางเขนเหล็ก ถือเป็นการนำกางเขนเหล็กกลับมาใช้เป็นบำเหน็จความชอบเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่สิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สองในปีค.ศ. 1945
 
== อิสริยาภรณ์กางเขนเหล็ก ==
บรรทัด 46:
 
== ดูเพิ่ม==
* [[พัวร์เลอเมรีท]] (''Pour le Mérite'')
* [[กางเขนอัศวินแห่งกางเขนเหล็ก]]
* [[มหากางเขนแห่งกางเขนเหล็ก]] (''Großkreuz des Eisernen Kreuzes'')
* [[กางเขนอัศวินแห่งกางเขนเหล็ก]] (''Ritterkreuz des Eisernen Kreuzes'')
* [[กางเขนวีรกรรมสงคราม]] (''Kriegsverdienstkreuz'')
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}