ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กองทัพบกไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Viewwwwww (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Ajkangxi (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุงใหม่เรื่องการเว้นวรรคตอนและบรรทัด
บรรทัด 110:
 
ในสมัย[[สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ]] ได้มีการปฏิรูปการปกครองครั้งใหญ่ในกรุงศรีอยุธยา จากหลักฐานที่ปรากฏในพระอัยการตำแหน่งนาทหารหัวเมือง กิจการทหารกับพลเรือนได้แยกจากกัน คือ '''ฝ่ายทหาร''' มี[[สมุหพระกลาโหม]]เป็นหัวหน้า รับผิดชอบกิจการทหารทั้งปวง กำหนดตำแหน่งและอำนาจหน้าที่สายการบังคับบัญชาของฝ่ายทหารตั้งแต่ยามปกติ เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการเรียกระดมพลเมื่อเกิดสงคราม และ'''ฝ่ายพลเรือน''' มี[[สมุหนายก]]เป็นหัวหน้า รับผิดชอบกิจการฝ่ายพลเรือน รวมทั้ง[[จตุสดมภ์]] การแยกกิจการทหารกับพลเรือนออกจากกัน มีส่วนส่งเสริมประสิทธิภาพของกิจการทหารไทยสมัยอยุธยาให้สูงขึ้น ทั้งในด้านการจัดหน่วยเข้าเป็นกองทัพ และการควบคุมบังคับบัญชา<ref name=":8" />
 
==== รัชสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ====
ได้มีการปรับปรุงกิจการทหารอีกหลายประการ คือ<ref name=":1" />
เส้น 207 ⟶ 208:
 
รัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ได้มีการปรับปรุงการทหารให้เจริญก้าวหน้ายิ่งขึ้น โดยจัดให้มีการจัดหน่วยทหารราบและทหารปืนใหญ่ขึ้น เป็นหน่วยประจำการ มีการนำชาวรามัญ จากเมืองนครเขื่อนขันธ์ (พระประแดง) และเมืองปทุมธานี มาฝึกหัดเป็นทหารซีปอย ที่ริเริ่มมาตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และมีการจัดพวกญวนมาฝึกหัดเป็นทหารปืนใหญ่ โดยให้แต่งการแบบทหารซีปอย นอกจากนี้ เพื่อป้องกันข้าศึกที่ยกมาทางบก ณ บริเวณพื้นที่ชายแดนที่ติดกับประเทศเพื่อนบ้านคือ ทางด้านตะวันออกติดกับกัมพูชา ทางด้านใต้ติดกับมะลายู และทางด้านตะวันตกติดกับพม่า จึงได้มีการสร้างป้อมปราการขึ้นใน 3 ทิศ ดังนี้<ref>http://thaiheritage.net/nation/military/military1/index06.htm</ref>
 
* สร้างป้อมปราการที่ตำบลปากแพรก เมืองกาญจนบุรี เพื่อป้องกันด้านตะวันตก คือพม่า เมื่อปี พ.ศ. 2377
* สร้างป้อมไพรีพินาศ และป้อมพิฆาตศัตรู ที่กาญจนบุรี เพื่อป้องกันด้านตะวันออก คือญวณ เมื่อ พ.ศ. 2377
บรรทัด 227:
 
พระองค์ทรงจ้าง ร้อยเอก อิมเปย์ และ ร้อยเอก [[โทมัส ยอร์ช น็อกซ์]] เป็นนายทหารนอกราชการของกองทัพอังกฤษประจำอินเดีย  เดินทางเข้ามาในไทยเมื่อปี พ.ศ. 2394 ให้มาเป็นครูฝึกหัดทหารบก ฝึกทหารในกรมทหารอาสาลาวและเขมร ที่เข้ามาเป็นทหารเกณฑ์หัดแบบตะวันตกในวังหน้า และวังหลวง คนทั่วไปเรียกทหารหน่วยนี้ว่า ทหารอย่างยุโรป หรือ ทหารเกณฑ์หัดอย่างฝรั่ง หน่วยดังกล่าวนี้มีการจัดเป็น กองร้อย หมวด และหมู่ มีนายร้อย นายสิบ ควบคุมตามแบบฝรั่ง ดังนั้นใน พ.ศ. 2395 กองทหารที่ได้รับการฝึกและจัดแบบตะวันตก มีดังนี้
 
# กองรักษาพระองค์อย่าง[[ยุโรป]]
# กองทหารหน้า
เส้น 254 ⟶ 253:
 
การจัดการทหารในช่วงแรกนั้น ได้มีหลายประการด้วยกัน ดังนี้<ref name=":4" />
 
* '''การจัดตั้งหน่วยทหารมหาดเล็ก''' เริ่มต้นจากเมื่อ ปี พ.ศ. 2404 ได้มีการทดลองฝึกบุตรข้าราชการ ตามแบบยุทธวิธีแบบใหม่ แบบทหารหน้า เรียกกันว่า มหาดเล็กไล่กา ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2411 ก็ตั้งเป็นหน่วยทหารหน่วยหนึ่ง เรียกกันว่า ทหารสองโหล ต่อมาเมื่อมีกำลังพลเพิ่มขึ้น หน่วยนี้ได้วิวัฒนาการขึ้นเป็น กองทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์ กรมทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์ ตามลำดับ และในปี พ.ศ. 2414 ได้มีการจัดระเบียบของหน่วยนี้ให้มั่นคงขึ้น และให้ชื่อว่า กรมทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์ ทรงจัดตั้งกองทหารม้า กองทหารช่าง และกองทหารแตรวง ขึ้นในกรมทหารมหาดเล็กฯ ตามลำดับ
* '''การปรับปรุงกรมทหารหน้า''' เมื่อปี พ.ศ. 2414 ได้โอนทหารรักษาพระองค์ กองทหารล้อมวัง และกองฝีพาย ซึ่งเป็นหน่วยทหารแบบเก่า เข้าสมทบกับกรมทหารหน้า กรมทหารหน้าได้รับการปรับปรุงในด้านต่าง ๆ มาโดยลำดับ  มีหน่วยกองทหารม้า กองทหารดับเพลิง และกองทหารข่าวในสังกัด นอกจากนั้นยังโปรดเกล้าฯ ให้กรมทหารหน้ารับเลขไพร่หลวง และบุตรหมู่ใด กรมใด ที่สมัครเข้ามาเป็นทหารเป็นเวลา 5 ปี จะได้ปลดพ้นหน้าที่ประจำการ ทำให้มีผู้มาสมัครเข้ารับราชการในกรมทหารหน้าเป็นอันมาก นับว่าเป็นจุดเริ่มต้นของการปลดปล่อยไพร่ทั้งหลายให้ไปสู่ความเป็นไท
เส้น 260 ⟶ 258:
 
เนื่องจาการทหารในสมัยนั้นยังเป็นไปในลักษณะกระจัดกระจาย อยู่ในสังกัดอำนาจของบุคคลหลายฝ่าย จึงทำให้การปฏิรูปการทหารของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในระยะแรกมีขอบเขตจำกัด ต่อมาใน พ.ศ. 2415 ภายหลังจากการเสด็จไปประพาส[[สิงคโปร์]]และปัตตาเวียแล้ว พระองค์โปรดให้ปรับปรุงการทหารให้กาวหน้ายิ่งขึ้น โดยนำแบบอย่างการทหารที่ชาวยุโรปนำมาฝึกทหารในอาณานิคมของตน แต่ได้ดัดแปลงแก้ไขให้เหมาะสมกับสภาพของ[[ประเทศไทย]] โปรดให้แบ่งหน่วยทหารออกเป็น 7 หน่วย ดังนี้
 
# กรมทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์
# กรม[[ทหารรักษาพระองค์]]
เส้น 270 ⟶ 267:
 
พ.ศ. 2430 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงหารือกับ[[พระบรมวงศานุวงศ์]] และ[[เสนาบดี]] ต่างเห็นพ้องต้องกันว่า ควรจัดการทหารอย่างใหม่เป็นระเบียบแบบแผนและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ดังนั้น ในวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2430 จึงได้มี "ประกาศจัดการทหาร" ขึ้น โดยตั้ง "กรมยุทธนาธิการ" มีลักษณะเป็นกรมกลางของทหารบก และ[[ทหารเรือ]] พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงดำรงพระราชอิสริยยศตำแหน่ง "จอมทัพ" [[สยามมกุฎราชกุมาร|สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร]] ทรงเป็น "ผู้บังคับบัญชาการทั่วไป" และเพื่อให้หน่วยทหารได้รับการบังคับบัญชาดูแลได้ทั่วถึง จึงทรงแต่งตั้งตำแหน่งผู้ช่วยเหลือผู้บังคับบัญชาทั่วไปอีก 4 ตำแหน่ง คือ
 
# เจ้าพนักงานใหญ่ ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก
# เจ้าพนักงานใหญ่ ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารเรือ
เส้น 285 ⟶ 281:
 
ในปี พ.ศ. 2439 ได้โอนกรมพระสุรัสวดี จากกระทรวงเมืองมาขึ้นกับกระทรวงกลาโหม เพื่อให้สะดวกในการเรียกพลเข้ารับราชการทหารและในปี พ.ศ. 2441 ได้จัดตั้งกรมเสนาธิการทหารบกขึ้น โดยมี[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช|พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นนครไชยศรีสุรเดช]] ซึ่งสำเร็จการศึกษาวิชาทหารจากประเทศเดนมาร์ก เป็นเสนาธิการ หลังจากนั้นก็ได้มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงกิจการทหารของไทยเข้าสู่ระบบสากล และในปีเดียวกันนี้ ได้มีการจัดตั้งหน่วย  ทหารบกตามหัวเมืองต่าง ๆ ทั่วไป เพื่อสะดวกในการวางกำลังทหารไว้ ตามพื้นที่ที่มีความสำคัญทางยุทธศาสตร์ และมีการเปลี่ยนนามหน่วยเสียใหม่ ดังนี้คือ<ref name=":5" />
 
* กรมทหารล้อมวัง            เป็น  กรมทหารบกราบที่ 1
* กรมทหารรักษาพระองค์    เป็น  กรมทหารบกราบที่ 2
เส้น 298 ⟶ 293:
 
ในปี พ.ศ. 2452 โปรดเกล้าฯ ให้จัดกองพลเป็นกองทัพ ดังนี้<ref name=":6" />
 
# '''กองทัพที่ 1''' ประกอบด้วย
#* กองพลที่ ๑ (รักษาพระองค์) มณฑลกรุงเทพฯ
เส้น 314 ⟶ 308:
 
เนื่องกองทัพสยามที่เป็นกองทัพเพิ่งจัดตั้งขึ้นใหม่ ทั้งยังมีข้อจำกัดด้านนโยบายที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงกำหนดให้ถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด คือ ห้ามกู้ยืมเงินมาพัฒนากองทัพโดยเด็ดขาด การสร้างสมกำลังรบและยุทธปัจจัยต่าง ๆ ให้ใช้จ่ายได้เฉพาะจากงบประมาณรายจ่ายที่ได้รับการจัดสรรประจำปีกับเงินคงพระคลังซึ่งเป็นเงินงบประมาณเหลือจ่ายจากปีต่าง ๆ ด้วยข้อจำกัดดังกล่าวกองทัพบกสยามในเวลานั้น จึงมีการวางอัตรากำลังพลในเวลาปกติของแต่ละกองพลทั่วราชอาณาจักร เป็นดังนี้<ref name=":7">http://www.vajiravudh.ac.th/OVtoVC/OVtoVC_71.htm</ref>
 
* ทหารราบ ๒ กองพัน
* ทหารปืนใหญ่ ๒ กองร้อย
เส้น 321 ⟶ 314:
 
เว้นแต่กองพลที่ ๑ รักษาพระองค์ ที่เป็นหน่วยประจำรักษาพื้นที่กรุงเทพฯ และมีหน้าที่เป็นทหารรักษาพระองค์ กับกองพลที่ ๔ มณฑลราชบุรี ซึ่งเป็นกองพลอิสระที่ขึ้นตรงต่อเสนาธิการทหารบก และเป็นหน่วยระวังรักษาพื้นที่มณฑลราชบุรี ซึ่งเป็นหน้าด่านของการป้องกันประเทศทางด้านคาบสมุทรมลายู เพราะนับแต่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ลงไปจนสุดชายพระราชอาณาเขตที่มณฑลปัตตานีเป็นพื้นที่ที่ไม่มีกองทหารลงไปประจำการ จึงมีการจัดกำลังรบในกองพลที่ ๔ นี้เสมอด้วยอัตรากำลังในยามมีศึกสงครามมาประชิด ซึ่งแต่ละกองพลมีการจัดกำลังเต็มอัตรา ดังนี้<ref name=":7" />
 
* ทหารราบ ๒ กรม ๆ ละ ๒ กองพัน
* ทหารปืนใหญ่ ๓ กองร้อย
เส้น 338 ⟶ 330:
==== รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ====
ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เนื่องจากพระองค์ทรงสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยทหารบกแซนด์เฮิสต์ ประเทศ[[อังกฤษ]] ทั้งยังทรงรับราชการในกรม[[ทหารราบ]]เบาเดอรัม และค่ายฝึก[[ทหารปืนใหญ่]] นับว่าพระองค์ทรงเป็น[[พระมหากษัตริย์]]ไทยพระองค์แรกที่ได้ทรงศึกษาวิชาทหารบกจากต่างประเทศโดยเฉพาะ เมื่อพระองค์เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ จึงทรงปรับปรุงกิจการทหารบกให้ดียิ่งขึ้น และเจริญก้าวหน้าตามแบบอย่างทหารในทวีปยุโรป พระองค์ทรงให้มีการเปลี่ยนแปลงการบริหารกิจการทหารใหม่ เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2453 โดย
 
# เปลี่ยนชื่อกรมยุทธนาธิการ เป็น กระทรวงกลาโหม มีหน้าที่ดูแลการปกครองเฉพาะกิจการทหารบก
# ยกกรมทหารเรือ ขึ้นเป็น กระทรวงทหารเรือ
เส้น 425 ⟶ 416:
== การจัดส่วนราชการ ==
กองทัพบก แบ่งส่วนราชการเป็น 7 ส่วนดังนี้ <ref name="คู่มือนายทหารสัญญาบัตร">กรมยุทธศึกษาทหารบก, คู่มือนายทหารสัญญาบัตร ประจำปี 2551, สำนักพิมพ์ หจก.อรุณการพิมพ์, 2551, หน้า 484</ref>
 
# ส่วนบัญชาการ
# ส่วนกำลังรบ
เส้น 505 ⟶ 495:
=== ส่วนสนับสนุนการช่วยรบ/ส่วนส่งกำลังบำรุง ===
มีจำนวน 9 กรม ดังนี้ <ref name="คู่มือนายทหารสัญญาบัตร">กรมยุทธศึกษาทหารบก, คู่มือนายทหารสัญญาบัตร ประจำปี 2551, สำนักพิมพ์ หจก.อรุณการพิมพ์, 2551, หน้า 484</ref>
 
* [[กรมการทหารช่าง]] (กช.) ตั้งอยู่ค่ายภาณุรังษี ตำบลพงสวาย อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี
* [[กรมการทหารสื่อสาร]] (สส.) ตั้งอยู่ถนนพระรามที่ 5 แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร
เส้น 520 ⟶ 509:
{{บน}}
* '''กองทัพภาคที่ 1 (ทภ.1) '''
** [[มณฑลทหารบกที่ 11]] (มทบ.11) สำนักงานใหญ่ถนนแจ้งวัฒนะ [[เขตดุสิตหลักสี่]] [[กรุงเทพมหานคร]]
** [[มณฑลทหารบกที่ 12]] (มทบ.12) ค่ายจักรพงศ์ อ.เมืองปราจีนบุรี [[จ.ปราจีนบุรี]]
** [[มณฑลทหารบกที่ 13]] (มทบ.13) ค่ายสมเด็จพระนารายณ์มหาราช อ.เมืองลพบุรี [[จ.ลพบุรี]]
เส้น 529 ⟶ 518:
** [[มณฑลทหารบกที่ 18]] (มทบ.18) ค่ายอดิศร อ.เมืองสระบุรี [[จ.สระบุรี]]
** [[มณฑลทหารบกที่ 19]] (มทบ.19) ค่ายสุรสิงหนาท [[อ.อรัญประเทศ]] [[จ.สระแก้ว]]
** [[มณฑลทหารบกที่ 110]] (มทบ.110) ค่ายทองฑีฆายุ อ.เมืองนครปฐม [[จ.นครปฐม]]
* '''กองทัพภาคที่ 2 (ทภ.2) '''
** [[มณฑลทหารบกที่ 21]] (มทบ.21) ค่ายสุรนารี อ.เมืองนครราชสีมา [[จ.นครราชสีมา]]
เส้น 576 ⟶ 566:
=== ส่วนช่วยการพัฒนาประเทศ ===
* '''กองทัพภาคที่ 1 (ทภ.1) '''
** [[กองพลพัฒนาที่ 1]] (พล.พัฒนา 1) ตั้งอยู่ตำบลดอนตะโก อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี
* '''กองทัพภาคที่ 2 (ทภ.2) '''
** [[กองพลพัฒนาที่ 2]] (พล.พัฒนา 2) ตั้งอยู่ตำบลไชยมงคล อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา
* '''กองทัพภาคที่ 3 (ทภ.3) '''
** [[กองพลพัฒนาที่ 3]] (พล.พัฒนา 3) ตั้งอยู่ค่ายสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ตำบลสมอแข อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก
* '''กองทัพภาคที่ 4 (ทภ.4) '''
** [[กองพลพัฒนาที่ 4]] (พล.พัฒนา 4) ตั้งอยู่ค่ายรัตนพล ตำบลคลองหอยโข่ง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา
 
== สื่อในความควบคุมของกองทัพบก ==
เส้น 595 ⟶ 585:
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[รายพระนามและชื่อผู้บัญชาการทหารบกไทย]]
* [[รายนามเสนาธิการทหารบก]]
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
เส้น 604 ⟶ 595:
 
=== เว็บไซต์ ===
* [http://www.rta.mi.th เว็บไซต์กองทัพบกอย่างเป็นทางการ]
 
* [http://dtad.dti.or.th/index.php?option=com_content&view=article&id=469:defence-news-around-the-world-11-15-nov2013&catid=3:defense-news&Itemid=3 จีนเสนอจรวดและรถเกราะให้กับไทย/กรุงเทพมหานคร]
*[http://www.rta.mi.th เว็บไซต์กองทัพบกอย่างเป็นทางการ]
* [http://thaidefense-news.blogspot.com/2013/12/kraz-6322.html รถบรรทุก KrAZ-6322]
*[http://dtad.dti.or.th/index.php?option=com_content&view=article&id=469:defence-news-around-the-world-11-15-nov2013&catid=3:defense-news&Itemid=3 จีนเสนอจรวดและรถเกราะให้กับไทย/กรุงเทพมหานคร]
*[http://thaidefense-news.blogspot.com/2013/12/kraz-6322.html รถบรรทุก KrAZ-6322]
 
=== หนังสืออ่านเพิ่มเติม ===
* [http://cuir.car.chula.ac.th/bitstream/123456789/42948/1/5480143022.pdf เทพ บุญตานนท์. (2556). ''พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวกับการสร้างภาพลักษณ์ทางการทหาร''. วิทยานิพนธ์ อ.ม. (ประวัติศาสตร์). กรุงเทพฯ: ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.]
* [http://ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2018/TU_2018_5806030044_10906_10799.pdf ปรัชญากรณ์ ลครพล. (2561). ''คณะราษฎรกับการปรับปรุงกองทัพบกไทย พ.ศ. 2475-2488''. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. (ประวัติศาสตร์). กรุงเทพฯ: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2561.]
 
*[http://cuir.car.chula.ac.th/bitstream/123456789/42948/1/5480143022.pdf เทพ บุญตานนท์. (2556). ''พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวกับการสร้างภาพลักษณ์ทางการทหาร''. วิทยานิพนธ์ อ.ม. (ประวัติศาสตร์). กรุงเทพฯ: ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.]
*[http://ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2018/TU_2018_5806030044_10906_10799.pdf ปรัชญากรณ์ ลครพล. (2561). ''คณะราษฎรกับการปรับปรุงกองทัพบกไทย พ.ศ. 2475-2488''. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. (ประวัติศาสตร์). กรุงเทพฯ: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2561.]
 
{{กองทัพไทย}}
{{กระทรวงกลาโหมของไทย}}
 
{{เรียงลำดับ|ไทย}}
[[หมวดหมู่:กองทัพไทย]]
เส้น 622 ⟶ 611:
[[หมวดหมู่:กระทรวงกลาโหม]]
[[หมวดหมู่:กองทัพบกไทย]]
 
[[wuu:王家泰国军队]]