ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ญี่ปุ่น)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Famefill (คุย | ส่วนร่วม)
Famefill ย้ายหน้า สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ญี่ปุ่น) ไปยัง รัฐสภาญี่ปุ่น ทับหน้าเปลี่ยนทาง: น่าจะใช้ชื่อนี้มากกว่า
Famefill (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 58:
| footnotes =
}}
'''สภานิติบัญญัติแห่งชาติรัฐสภาญี่ปุ่น''' ({{ญี่ปุ่น|国会|Kokkai}}, {{lang-en|National Diet}}) หรือ '''รัฐสภา''' เป็นฝ่ายนิติบัญญัติของ[[ประเทศญี่ปุ่น]] ประกอบด้วยสองสภานิติบัญญัติคือ [[สภาล่าง]]เรียกว่า [[สภาผู้แทนราษฎร]] และ[[สภาสูง]]เรียกว่า [[วุฒิสภา|ราชมนตรีสภา]] สมาชิกของสภาทั้งสองมาจาก[[การเลือกตั้งแบบคู่ขนาน|ระบบการเลือกตั้งแบบคู่ขนาน]] สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีวาระ 4 ปี ส่วนสมาชิกราชมนตรีสภามีวาระ 6 ปี และนอกเหนือไปจากการพิจารณากฎหมายต่าง ๆ แล้ว สภานิติบัญญัติรัฐสภายังมีหน้าที่เลือก[[นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น|นายกรัฐมนตรี]] สภานิติบัญญัติรัฐสภาของญี่ปุ่นประชุมครั้งแรกในชื่อ ''สภานิติบัญญัติแห่งสมเด็จพระจักรพรรดิ'' เมื่อ พ.ศ. 2432 รูปแบบและโครงสร้างของสภาในปัจจุบันนั้นจัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2490 สองปีหลังสิ้น[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] สภานิติบัญญัติในรูปแบบนี้เองที่รัฐธรรมนูญถือว่าเป็นองค์กรอำนาจสูงสุดของรัฐ สภานิติบัญญัติมีตั้งอยู่ที่ [[อาคารสภานิติบัญญัติแห่งชาติ]] ใน[[ชิโยะดะ (โตเกียว)|แขวงชิโยะดะ]] [[มหานครโตเกียว]]
 
== อำนาจ ==
ตามมาตราที่ 41 แห่งรัฐธรรมนูญ ได้นิยามแก่สภานิติบัญญัติแห่งชาติรัฐสภาไว้ว่าเป็น "องค์กรสูงสุดแห่งอำนาจรัฐ" และ "องค์กรออกกฎหมายแต่ผู้เดียวของรัฐ" ซึ่งบทบัญญัตินี้ได้แตกต่างกับรัฐธรรมนูญสมัย[[จักรวรรดิญี่ปุ่น]] ซึ่งได้บัญญัติให้[[จักรพรรดิญี่ปุ่น|องค์จักรพรรดิ]]ทรงเป็นผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติโดยความยินยอมของสภา สภานิติบัญญัติแห่งชาติรัฐสภาไม่เพียงแต่มีหน้าที่ในการพิจารณาเรื่องกฎหมายเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการอนุมัติงบประมาณแผ่นดินประจำปีที่รัฐบาลเป็นผู้จัดทำมาเสนอต่อสภา นอกจากนี้สภานิติบัญญัติแห่งชาติรัฐสภายังมีอำนาจในออกร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ ซึ่งหากร่างแก้ไขฯได้รับการอนุมัติจากสภา ก็จะต้องดำเนินการให้ประชาชนลง[[ประชามติ]] นอกเหนือไปจากนี้ สภานิติบัญญัติยังมีหน้าที่ "ตรวจสอบการทำงานที่เกี่ยวข้องกับรัฐบาล" (มาตรา 62) และ[[นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น|นายกรัฐมนตรี]] จะต้องมาจากการเลือกตั้งโดยสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งลักษณะแบบนี้ได้สร้างหลักการที่ว่ากฎหมายอยู่เหนือกว่าผู้บริหารขององค์กรของรัฐ (มาตรา 67) หรือก็คือ สภาสามารถถอดถอนนายกรัฐมนตรีและสมาชิกคณะรัฐมนตรีได้ ผ่านการอภิปรายไม่ไว้วางใจโดยการเข้าชื่อของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรอย่างน้อย 50 คน ซึ่งรัฐบาลมีหน้าที่ในการชี้แจงข้อกล่าวหารวมไปถึงคำถามจากสภาในการอภิปรายไม่ไว้วางใจ นอกจากนี้ สภายังมีอำนาจในการดำเนินคดีแก่ผู้พิพากษาที่ถูกตัดสินว่ากระทำผิดทางอาญา ทางวินัย หรือการกระทำที่มิชอบตามกฎหมาย<ref name="const">[[ห้องสมุดสภานิติบัญญัติแห่งชาติ]]. [http://www.ndl.go.jp/constitution/e/etc/c01.html Constitution of Japan]. Published 1947. Retrieved July 15, 2007.</ref>
 
<gallery widths="200px" heights="160px">