ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
Miwako Sato ย้ายหน้า พระเจ้าสูรยวรรมันที่ 2 ไปยัง พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 ทับหน้าเปลี่ยนทาง: ชื่อนิยม
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 25:
|}}
 
'''สูรยวรรมันที่ ใหญ่ที่สุด'''
'''สูรยวรรมันที่ 2'''<ref name = "fad">{{cite book | title = ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 12 | isbn = 9749528476 | year = 2549 | page = 929 | publisher = กรมศิลปากร| location = กรุงเทพฯ }}</ref> เอกสารไทยมักเรียก '''สุริยวรมันที่ 2''' ({{lang-km|សូរ្យវរ្ម័នទី២}} ''สูรฺยวรฺมันที ๒''; {{lang-roman|Suryavarman II}}) สิ้นพระชนม์แล้วได้พระนามว่า '''บรมวิษณุโลก''' (បរមវិឝ្ណុលោក ''บรมวิศฺณุโลก'') เป็นพระมหากษัตริย์แห่ง[[จักรวรรดิเขมร]] เสวยราชย์ตั้งแต่ ค.ศ. 1113 ถึงราว ค.ศ. 1145-50
 
'''สูรยวรรมันที่ 2'''<ref name = "fad">{{cite book | title = ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 12 | isbn = 9749528476 | year = 2549 | page = 929 | publisher = กรมศิลปากร| location = กรุงเทพฯ }}</ref> เอกสารไทยมักเรียก '''สุริยวรมันที่ 2''' ({{lang-km|សូរ្យវរ្ម័នទី២}} ''สูรฺยวรฺมันที ๒''; {{lang-roman|Suryavarman II}}) สิ้นพระชนม์แล้วได้พระนามว่า '''บรมวิษณุโลก''' (បរមវិឝ្ណុលោក ''บรมวิศฺณุโลก'') เป็นพระมหากษัตริย์แห่ง[[จักรวรรดิเขมร]] เสวยราชย์ตั้งแต่ ค.ศ. 1113 ถึงราว ค.ศ. 1145-50
 
พระองค์สถาปนา[[นครวัด]]ถวาย[[พระวิษณุ]] นอกจากนี้ สถาปัตยกรรมเพื่อถวายแด่เทพยดา การศึกสงครามจำนวนมหาศาล และการปกครองที่เข้มแข็ง ทำให้พระองค์ได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งในพระมหากษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของจักรวรรดิเขมร
เส้น 33 ⟶ 35:
พระนาม "สูรยวรรมัน" แปลว่า ผู้มีพระอาทิตย์เป็นเกราะ หรือผู้มีสุริยเทพคุ้มครอง มาจากคำสันสกฤต ''สูรฺย'' แปลว่า พระอาทิตย์ + ''วรฺมัน'' แปลว่า ผู้มีเกราะ คำนี้เพี้ยนมาจาก ''สูรยวรรม'' และภายหลังเพี้ยนต่อเป็น ''สุริโยพรรณ'' เช่น ในพระนามของ[[พระบรมราชาที่ 7]] (พระศรีสุริโยพรรณ) และของ[[นักองค์เอง]] (พระนารายณ์รามาธิบดีศรีสุริโยพรรณ)<ref>{{cite book | title = ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 12 | isbn = 9749528476 | year = 2549 | page = 71 | publisher = กรมศิลปากร| location = กรุงเทพฯ }}</ref>
 
พระนามหลังสิ้นพระชนม์ คือ "พระบาทกมรเตงอัญบรมวิษณุโลก" (វ្រះបាទកម្រតេងអញបរមវិឝ្ណុលោក ''วฺระบาทกมฺรเตงอญบรมวิศฺณุโลก'')<ref name = "fad"/> พระนาม "บรมวิษณุโลก" นี้สื่อว่า ทรงเข้าถึงแล้วซึ่งพิภพอันยิ่งใหญ่ของ[[พระวิษณุ]] คือ สรวงสวรรค์<ref name="Higham">Higham, C., 2001, The Civilization of Angkor, London: Weidenfeld & Nicolson, ISBN 9781842125847</ref>{{rp|118}}
 
==พระราชกำเนิด==
เส้น 55 ⟶ 57:
ตลอดรัชกาล สูรยวรรมันทรงรวบรวมจักรวรรดิที่แตกแยกเข้าเป็นหนึ่งอีกครั้ง เมืองขึ้นทั้งปวงส่งบรรณาการถวาย พระองค์ยังเปิดศึกกับชนชาติ[[ชาวจาม|จาม]]ทางด้านตะวันออก แต่โดยมากแล้วทรงพ่ายแพ้<ref name=Higham/>{{rp|113–114}}
 
จารึกของชาวจามและบันทึกของเวียดนามว่า สูรยวรรมันทำสงครามใหญ่กับรัฐของ[[ชาวเวียดนาม]]ที่เรียก [[Đại Việt|ด่ายเวียต]] (Đại Việt) ถึงสามครั้ง แต่ไม่ชนะสักครั้ง บางครั้ง ทรงได้รับความสงเคราะห์จากชาวจาม สงครามครั้งแรกเกิดใน ค.ศ. 1128 สูรยวรรมันนำทหาร 20,000 นายบุกไปด่ายเวียต แต่แพ้ยับเยินจนต้องถอยกลับ ปีต่อมา ทรงส่งกองเรือกว่า 700 ลำไปตีชายฝั่งด่ายเวียต ครั้น ค.ศ. 1132 กองผสมเขมรจามบุกด่ายเวียตอีกครั้ง สงครามครั้งสุดท้ายมีใน ค.ศ. 1138 เขมรพ่ายแพ้ดังเคย ภายหลัง [[พระเจ้าอินทรวรรมันที่ 3|อินทรวรรมันที่ 3]] (ឥន្ទ្រវរ្ម័នទី៣ ''อินฺทฺรวรฺมันที ๓'') พระมหากษัตริย์จาม ทรงเป็นไมตรีกับด่ายเวียต จามจึงเลิกสนับสนุนเขมร ฉะนั้น ใน ค.ศ. 1145 สูรยวรรมันจึงหันไปตีจามแทน จามแพ้ เขมรปล้นเอาราชธานี คือ เมือง[[Vijaya (Champa)|วิชัย]] ได้<ref name="Maspero">Maspero, G., 2002, The Champa Kingdom, Bangkok: White Lotus Co., Ltd., ISBN 9747534991</ref>{{rp|75–76}} สูรยวรรมันตั้งน้องเขย คือ [[หริเทวะ]] (Harideva) ให้เป็นพระมหากษัตริย์จามพระองค์ใหม่ แต่ต่อมา ชาวจามยึดเมืองวิชัยคืนได้ แล้วประหารหริเทวะเสีย<ref>Briggs, "The Ancient Khmer Empire," p. 192.</ref> การสงครามระหว่างชนชาติเหล่านี้มีขึ้นครั้งสุดท้ายใน ค.ศ. 1150 ผลลัพธ์ คือ เขมรพ่ายหนีกลับบ้านเมือง<ref name=Coedes/>{{rp|159–160}}
 
===การทูต===
เส้น 67 ⟶ 69:
[[File:SuryavarmanII01.JPG|thumb|รูปสลักสูรยวรรมันที่[[นครวัด]]]]
 
รัชกาลสูรยวรรมันบังเกิดความก้าวหน้าทางศิลปะและสถาปัตยกรรมอย่างยิ่ง สูรยวรรมันทรงถือ[[ไวษณพนิกาย]] (ถือ[[พระวิษณุ]]เป็นใหญ่) ต่างจากพระมหากษัตริย์เขมรพระองค์อื่น ๆ ที่ถือ[[ไศวนิกาย]] (ถือ[[พระศิวะ]]เป็นใหญ่) พระองค์จึงสร้าง[[นครวัด]]ถวาย[[พระวิษณุ]]<ref name="Higham1">Higham, C., 2014, Early Mainland Southeast Asia, Bangkok: River Books Co., Ltd., ISBN 9786167339443</ref>{{rp|372,378–379}} แต่นครวัดมาสำเร็จเอาเมื่อสิ้นพระชนม์แล้ว
 
สูรยวรรมันเป็นพระมหากษัตริย์เขมรพระองค์แรกที่ปรากฏโฉมในงานศิลปะ เช่น ที่นครวัดมีรูปสลักนูนต่ำของพระองค์ประทับนั่งบนราชอาสน์ สวมเครื่องทรงต่าง ๆ เช่น ศิราภรณ์ ต่างหู กำไลแขน กำไลเท้า สังวาลย์ ฯลฯ หัตถ์ขวาถือซากงู รายล้อมด้วยบริพารถือพัชนี แส้ และฉัตร ทั้งมีพราหมณ์ที่ดูเหมือนกำลังเตรียมพิธีอยู่ใกล้ ๆ และเหมือนกำลังประทับอยู่กลางป่า