ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 26:
'''โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี''' ({{lang-en|Assumption College Thonburi}}; [[อักษรย่อ]]: อ.ส.ธ.) เป็นโรงเรียนเอกชนลำดับ 8 ก่อตั้งโดย[[คณะภราดาเซนต์คาเบรียล]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2504]] เดิมเป็นโรงเรียนชายล้วน ตั้งแต่ ปี[[พ.ศ. 2552]] ได้รับนักเรียนหญิงเข้ามา จึงเปลี่ยนแปลงเป็นโรงเรียนสหศึกษา มีสถานที่ตั้งอยู่ที่ 92 ถนนอัสสัมชัญ แขวงบางไผ่ [[เขตบางแค]] [[กรุงเทพมหานคร]] 10160 ปัจจุบันโรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรีมีอายุครบ {{อายุ|2504|1|16}} ปี
 
โรงเรียนก่อตั้งขึ้นโดยได้รับที่ดินจำนวนหนึ่งจากนาย[[ไถง สุวรรณทัต]] ศิษย์เก่าอาวุโสโรงเรียนอัสสัมชัญ (อดีต ส.ส.พรรคการเมืองชื่อดัง)f<ref>http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=2e4fe1507b56128a</ref>ผู้ก่อตั้งหมู่บ้านจัดสรรแห่งแรกของประเทศไทยชื่อว่า "หมู่บ้านเศรษฐกิจ" ซึ่งท่านได้บริจาคที่ดินเนื้อที่ทั้งหมด 56 ไร่ 1 งาน 9 ตารางวา ให้กับโรงเรียน ปัจจุบันมีพื้นที่ทั้งหมด 80 ไร่ 27 ตารางวา
 
ผู้อำนวยการคนปัจจุบันของโรงเรียนชื่อ ภราดา ดร.ชำนาญ เหล่ารักผล <ref>http://swis.act.ac.th/html_edu/cgi-bin/act/report/print_picture.php?id_pic=954</ref>
 
== ตราสัญลักษณ์ ==
==เครื่องหมายโรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี มีลักษณะ เป็นตราโล่สีแดงคาดสีขาว กึ่งกลางมีตัวอักษร ACT สีน้ำเงินไขว้กันอยู่ และปีคริสต์ศักราช '''1961''' สีนำเงินอยู่ใต้ตัวอักษร ซึ่งเป็นปีก่อตั้งโรงเรียน นอกจากนี้ สีที่ปรากฏบนโล่ยังเตือนใจให้รำลึกถึงชาติ ศาสนา ==และพระมหากษัตริย์<ref>http://www.act.ac.th/work_project/act_information/index04.html</ref>
== สีน้ำเงินอยู่ใต้ตัวอักษรซึ่งเป็นปีก่อตั้งโรงเรียนที่ปรากฏโล่เตือนใจรำลึกถึงชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ==
{| class="wikitable"
|-
เส้น 92 ⟶ 91:
*1.เครื่องหมายเชิดชูเกียรติที่ได้เป็นมิสชั่นนารีดีเด่น จากกระทรวงการต่างประเทศสเปน เมื่อ พ.ศ. 2505
*2.เครื่องราชอิสริยาภรณ์ Great Cross of Isabel La Catolica ชั้นที่ 2 โดย Mr.Castielle รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสเปน ในปี พ.ศ. 2507
*3.เครื่องราชอิสริยาภรณ์ Great Cross of Isabel La Catolica ชั้นที่ 1 จาก[[สมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน]] ในการเสด็จพระราชดำเนินเยือนประเทศไทยอย่างเป็นทางการ ในฐานะพระราชอาคันตุกะ ระหว่างที่ท่านดำรงตำแหน่ง[[อธิการเจ้าคณะแขวง]]ท่านได้ก่อตั้งอัสสัมชัญธนบุรี อัสสัมชัญลำปาง อัสสัมชัญระยอง อัสสัมชัญอุบลราชธานี อัสสัมชัญศรีราชา เกษียณอายุแล้วท่านได้ใช้เวลาเขียนหนังสือเกี่ยวกับประวัติของคณะภราดาในประเทศไทยพระศาสนจักร[[โรมันคาทอลิกในประเทศไทย]] เช่น 30 ปี โรคเรื้อน,มรดกของเรา ประวัติภราดา 10 ท่าน ชื่อเสียงในประเทศไทย NOK เซนต์คาเบรียล ประเทศไทย
 
ระหว่างที่ท่านดำรงตำแหน่ง[[อธิการเจ้าคณะแขวง]] ท่านได้ก่อตั้งโรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี โรงเรียนอัสสัมชัญลำปาง โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี โรงพยาบาลที่โรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา (ยุวลัยนักบุญหลุยส์มารี ในปัจจุบัน) และก่อสร้างศูนย์กลางแขวงไทยที่ซองทองหล่อ หลังจากเกษียณอายุแล้ว ท่านได้ใช้เวลาในการเขียนหนังสือเกี่ยวกับประวัติของคณะภราดาในประเทศไทย พระศาสนจักร[[โรมันคาทอลิกในประเทศไทย]] หนังสืออื่นๆ เช่น 30 ปีกับคนโรคเรื้อน, มรดกของเรา (ประวัติภราดา 10 ท่านที่ทำชื่อเสียงในประเทศไทย) บทความเกี่ยวกับโรงเรียนต่างๆ และข่าวในวารสาร NOK ซึ่งเป็นวารสารในคณะภราดาเซนต์คาเบรียลแขวงประเทศไทย
== ผู้บริหารโรงเรียน ==
 
== ทำเนียบผู้บริหารโรงเรียน ==
{| class="wikitable" width="70%"
|-
! ลำดับที่
! ชื่อ -นามสกุล สกุล
! ตำแหน่ง
! วาระการดำรงตำแหน่ง
 
|-
| 1
| ภราดาอาซีเนียว อานเกล อินฟานเต
| อธิการ
| พ.ศ. 2504-2505
 
|-
| 2
| อิลเดอภราดาอิลเดอฟองโซ มารี ซีซีเรีย
| อธิการ
| พ.ศ. 2505-2507
 
|-
| 3
| ภราดาฟิลิป (อำนวย ปิ่นรัตน์)
| อธิการ
| พ.ศ. 2508
 
|-
| 4
| ภราดาอารมณ์ วรศิลป์
| อธิการ
| 2507-พ.ศ. 2507–2510
 
|-
| 5
| ภราดาวิศิษฐ์ ศรีวิชัยรัตน์
| อธิการ
| พ.ศ. 2510-2517
 
|-
| 6
| ภราดา ดร.[[บัญชา แสงหิรัญ]]
| อธิการ
| พ.ศ. 2518-2520
 
|-
| 7
| ภราดาสมพงษ์ ศรีสุระ
| อธิการ
| พ.ศ. 2520-2526
 
|-
| 8
| ภราดามีศักดิ์ ว่องประชานุกูล
| อธิการ
| พ.ศ. 2526-2534
 
|-
| 9
| ภราดา ดร.อานันท์ ปรีชาวุฒิ
| ผู้อำนวยการ
| พ.ศ. 2534-2541
 
|-
| 10
| ภราดา ดร.เลอชัย ลวสุต
| ผู้อำนวยการ
| พ.ศ. 2541-2543
|-
| 11
| ภราดา ดร.เดชาชัย ศรีพิจารณ์
| ผู้อำนวยการ
| พ.ศ. 2544-2546
 
|-
| 12
| ภราดาอาจิณ เต่งตระกูล
| ผู้อำนวยการ
| พ.ศ. 2547-2549
 
|-
| 13
| ภราดา ดร.ชำนาญ เหล่ารักผล
| ผู้อำนวยการ
| พ.ศ. 2550-2555
 
|-
| 14
| ภราดา ดร.วีรยุทธ บุญพราหมณ์
| ผู้อำนวยการ
| พ.ศ. 2556-2561
 
|-
| 15
| ภราดา ดร.ชำนาญ เหล่ารักผล
| ผู้อำนวยการ
| พ.ศ. 2562-ปัจจุบัน
 
|}
 
== สถานที่สำคัญในโรงเรียน ==
== สถานที่สำคัญในโรงเรียน 18 อาคาร เป็นอาคารเรียน 8 อาคาร อเนกประสงค์ 10 อาคาร '''รัตนบรรณาคาร''' พื้นที่ใช้สอย 4 ชั้น โดย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ยังมีพระกรุณาธิคุณเสด็จพระราชดำเนินมาเปิดอาคาร ชวน หลีกภัย เป็นประธานวางศิลาฤกษ์ [[มีชัย กิจบุญชู]] รัตนบรรรณาคาร ทวีปัญญา ชั้น 3-4 เสียง สิรินธร ภาพยนตร์ พิพิธภัณฑ์ ชั้น 1-2 ห้องประชุม ไถง สุวรรณฑัต วิจัยครู สำนักผู้อำนวยการ ทางภาษา ชีววิทยา ฟิสิกส์ แมคอินทอช วินโดวส์ ตลอดจนห้องปฏิบัติการสาระการเรียนรู้วิชาต่างๆ ==
โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี มีอาคารหลักทั้งหมด 18 อาคาร เป็นอาคารเรียน 8 อาคาร และอาคารอเนกประสงค์ 10 อาคาร <ref>http://www.weekendhobby.com/act50th/webboard/Question.asp?ID=99</ref>
== เซิร์ฟเวอร์ เลขาผู้อำนวยการ แนะแนว ปฏิบัติการเคมี ==
 
'''หอประชุมหลุยส์ มารี เดอ มงฟอร์ต''' เป็นอาคารศูนย์การเรียนรู้ที่ทันสมัย สร้างขึ้นเพื่อเป็นเกียรติและอนุสรณรำลึกบุญคุณของ นักบุญ[[หลุยส์ เดอ มงฟอร์]]ต ผู้ก่อตั้ง[[คณะภราดาเซนต์คาเบรียล]] โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ได้มีพระกรุณาธิคุณเสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดอาคารดังกล่าว ห้องประชุมอเนกประสงค์ขนาดใหญ่พิเศษที่สามารถใช้เป็นได้สถานที่ประชุม สนามกีฬา โรงละคร มากกว่า 2,000 คน ออดิโธเรียม ตลอดจนศูนย์ดนตรี ซึ่งประกอบด้วยห้องเรียนดนตรีไทยและสากล 20 ห้อง <ref>http://www.icons.co.th/Architectsubdb.asp?name=6831</ref>
'''อาคารรัตนบรรณาคาร''' เป็นอาคารศูนย์การเรียนรู้ที่ครบวงจรขนาดใหญ่ พื้นที่ใช้สอยจำนวน 4 ชั้นโดย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานชื่อว่า "รัตนบรรณาคาร" อีกทั้งยังมีพระกรุณาธิคุณเสด็จพระราชดำเนินมาเปิดอาคาร นอกจากนี้ นายชวน หลีกภัย อดีตนายกรัฐมนตรี เป็นประธานวางศิลาฤกษ์ และ[[พระคาร์ดินัล]]ไมเกิ้ล [[มีชัย กิจบุญชู]] [[อัครมุขนายก]][[เขตมิสซังกรุงเทพ|มิสซังโรมันคาทอลิกกรุงเทพฯ]] เป็นประธานเสกอาคาร อาคารรัตนบรรรณาคาร ประกอบด้วย ห้องสมุดทวีปัญญา ซึ่งเป็นห้องสมุดขนาดใหญ่พิเศษใช้พื้นที่บริเวณชั้น 3 และ ชั้น 4 ภายในประกอบไปด้วย ห้องสมุดเสียง ห้องสิรินธร ห้องฉายภาพยนตร์ และห้องพิพิธภัณฑ์ ในส่วนชั้นที่ 1 และ ชั้นที่ 2 ประกอบไปด้วย ห้องประชุมรัตนบรรณาคาร ห้องประชุมไถง สุวรรณฑัต ห้องวิจัยครู สำนักผู้อำนวยการ ห้องโสตทัศนูปกรณ์ ห้องปฏิบัติการทางภาษา ห้องปฏิบัติการชีววิทยา ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์ ห้องปฏิบัติการแมคอินทอช ห้องปฏิบัติการวินโดวส์ ตลอดจนห้องปฏิบัติการสาระการเรียนรู้วิชาต่างๆ ห้องเซิร์ฟเวอร์ ห้องเลขาผู้อำนวยการ ห้องแนะแนว ห้องปฏิบัติการเคมี
 
'''หอประชุมหลุยส์ มารี เดอ มงฟอร์ต''' เป็นอาคารศูนย์การเรียนรู้ที่ทันสมัย สร้างขึ้นเพื่อเป็นเกียรติและอนุสรณรำลึกบุญคุณของ นักบุญ[[หลุยส์ เดอ มงฟอร์]] ผู้ก่อตั้ง[[คณะภราดาเซนต์คาเบรียล]] โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ได้มีพระกรุณาธิคุณเสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดอาคาร อาคารดังกล่าว ประกอบด้วย ห้องประชุมอเนกประสงค์ขนาดใหญ่พิเศษที่สามารถใช้เป็นได้ทั้งสถานที่ประชุม สนามกีฬาในร่ม และโรงละคร สามารถจุคนได้มากกว่า 2,000 คน นอกจากนี้ยังมีห้องประชุมมงฟอร์ตออดิโธเรียม ตลอดจนศูนย์ดนตรี ซึ่งประกอบด้วยห้องเรียนดนตรีไทยและสากล 20 ห้อง <ref>http://www.icons.co.th/Architectsubdb.asp?name=6831</ref>
 
'''อาคารอัสสัมชัญ''' พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ทรงเปิดอาคารในงานฉลองครบ 30 ปีของโรงเรียน เป็นอาคารเรียนที่มีความยาวที่สุดในโรงเรียน ขนาดความยาว 135 เมตร ปัจจุบันประกอบด้วย ห้องเรียนนักเรียนระดับชั้น ป.5 - ม.2 จำนวน 40 ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 6 ห้อง ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ขนาดใหญ่ 2 ห้อง ห้องเรียนภาษาญี่ปุ่น ห้องเรียนภาษาจีน
 
'''อาคารราฟาแอล''' เป็นอาคารที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแด่ ภราดาราฟาแอล ภักดี ทุมมกานนท์ ภราดาอาวุโส เป็นอาคารเรียนขนาดใหญ่พิเศษ 6 ชั้น ประกอบไปด้วย ห้องเรียนนักเรียนระดับชั้น ป.1 - ป.4 ห้องเรียนเปียโน ห้องคอมพิวเตอร์ 4 ห้อง ห้องเรียนศิลปะ ห้องแล็บ ห้องเรียนภาษาจีน ห้องเรียนเซรามิค ห้องประชุมราฟาแอล ห้องเสริมทักษะพัฒนาการเรียนรู้ ตลอดจนโถงอเนกประสงค์ขนาดใหญ่<ref>http://www.civiltechdesign.com/project_education_h.html</ref>
เส้น 233 ⟶ 238:
 
== วัดประจำโรงเรียน ==
'''วัดนักบุญหลุยส์ มารี กรีญอง เดอ มงฟอร์ต บางแค''' เป็นวัดคาทอลิกในเขตปกครองวัดที่ 3 ของ อัครสังฆมณทลกรุงเทพฯ &nbsp;มีคุณพ่อโยเซฟ ศุภศิลป์ สุขสุศิลป์ เป็นเจ้าอาวาส สถานที่ตั้ง 30/37 หมู่บ้านเศรษฐกิจ ถนนเพชรเกษม แขวงบางไผ่ เขตบางแค กรุงเทพฯ 10160
 
โดยวัดนักบุญหลุยส์ฯนี้ ถือเป็นวัดประจำโรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี เพื่อใช้ทำกิจกรรมที่สำคัญในวันต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับโรงเรียน และเป็นวัดคาทอลิกให้กับทางชุมชนในเขตบางแคอีกด้วย
เส้น 327 ⟶ 332:
* [[เสกสิทธิ์ ศรีใส]] - [[สโมสรฟุตบอลเอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด|เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด]]
* [[พรชดา เครือคช]] - [[มิสทีนไทยแลนด์]] 2013 และ นักแสดงสังกัด [[ช่อง 7]]
*[[สรัลชนา อภิสมัยมงคล]] - นักแสดง ช่องGMM TV25
 
== การเดินทาง ==