ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นาซา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
→‎ประวัติ: Take care you lady every person.
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
NP-chaonay (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 8484151 โดย NP-chaonay: สแปมลิงก์/เพิ่มเนื้อหาที่ไม่เป็นสาระต่อบทความ/ก่อกวน (Link Spamming/Non-useful content editing/Vandals)ด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 26:
 
คำขวัญขององค์การนาซาคือ "''เพื่อประโยชน์ของคนทุกคน''" (For the benefit of all)<ref name="motto">{{Cite web|url=http://www.lightmillennium.org/2004_newyear/gokoglu_nasa_stands_forall.html|title= นาซาแสดงจุดยืน "เพื่อประโยชน์ของทุกคน" - ให้สัมภาษณ์โดย Dr. Süleyman Gokoglu แห่งองค์การนาซา |accessyear=2007|accessmonthday=September 13|publisher=The Light Millennium|year=2007|author=Lale Tayla and Figen Bingul|language=English}}</ref>
 
https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%A5%E0%B9%8C:NASA_logo.svg
 
https://rabobsuriyauk.simdif.com/index.html?no_cache=0.030069755960811406
 
== ประวัติ ==
{{เว็บย่อ|NASA}}
https://documentcloud.adobe.com/link/track?uri=urn%3Aaaid%3Ascds%3AUS%3A64d4c0a4-f3f9-478e-9488-c5587c235d20
 
https://phiphatthanaphonguk.simdif.com/index.html?no_cache=0.0840313761082534
 
https://hotwayuk.simdif.com
 
=== การแข่งขันในการสำรวจอวกาศ ===
เส้น 45 ⟶ 36:
 
โครงการในระยะแรกของนาซาเป็นการวิจัยโดยมีเป้าหมายส่งมนุษย์ขึ้นไปกับยานอวกาศ ดำเนินไปพร้อมแรงกดดันจากการแข่งขันกับ[[สหภาพโซเวียต]]ในระหว่าง[[สงครามเย็น]] นาซาเริ่มต้นศึกษาความเป็นไปได้ ในการใช้ชีวิตของมนุษย์ในห้วงอวกาศด้วย[[โครงการเมอร์คิวรี]]ในปี [[พ.ศ. 2501]] ต่อมาวันที่ [[5 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2504]] (ค.ศ. 1961) นักบินอวกาศ [[อลัน บี. เชเพิร์ด จูเนียร์]] กลายเป็นชาวอเมริกันคนแรกในอวกาศ เมื่อเขาเดินทางไปกับ[[ยานเมอร์คิวรี 3|''ยานฟรีดอม 7'']] ในภารกิจนาน 15 นาที แบบไม่เต็มวงโคจร หลังจากนั้น[[จอห์น เกล็นน์]] กลายเป็นชาวอเมริกันคนแรกที่โคจรรอบโลกเมื่อวันที่ [[20 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2505]] (ค.ศ. 1962) ในการขึ้นบินนาน 5 ชั่วโมงกับ [[ยานเมอร์คิวรี 6|''ยานเฟรนด์ชิป 7'']]
https://rabobsuriyauk.simdif.com/index.html?no_cache=0.030069755960811406
 
=== โครงการอะพอลโล ===
เส้น 56 ⟶ 46:
 
แม้ว่าองค์การนาซาจะทำให้สหรัฐฯ ได้ชัยชนะในการแข่งขันกับโซเวียต แต่ความสนใจของชาวอเมริกันที่มีต่อโครงการอวกาศ อันจะทำให้สภาคองเกรสทุ่มงบประมาณให้กับนาซา กลับลดน้อยถอยลง นาซาสูญเสียผู้สนับสนุนในสภาหลังจาก[[ลินดอน บี. จอห์นสัน]] ลงจากตำแหน่งประธานาธิบดี ผู้ที่มีบทบาทในการวิ่งเต้นเพื่อผลักดันงบประมาณให้กับนาซาในเวลาต่อมา คือ [[เวอร์เนอร์ ฟอน บราวน์]] วิศวกรผู้เชี่ยวชาญด้านจรวดชาวเยอรมัน เขาเสนอแผนสร้างสถานีอวกาศ ฐานปฏิบัติการบนดวงจันทร์ และโครงการส่งมนุษย์ไป[[ดาวอังคาร]]ภายในปี [[พ.ศ. 2533]] (ค.ศ. 1990) แต่สุดท้ายก็ไม่สามารถดำเนินการได้เพราะประสิทธิภาพของเทคโนโลยีจรวดขณะนั้นยังไม่ดีพอ อุบัติเหตุการระเบิดของถังออกซิเจน ที่เกือบจะเป็นโศกนาฏกรรมกับนักบินบน[[ยานอะพอลโล 13]] ทำให้ประชาชนเริ่มกลับมาสนใจในโครงการอวกาศ อย่างไรก็ตาม [[ยานอะพอลโล 17]] เป็นยานลำสุดท้ายที่ขึ้นบินภายใต้สัญลักษณ์อะพอลโล แม้ว่าโครงการอะพอลโลมีแผนไปถึง[[ยานอะพอลโล 20]] โครงการอะพอลโลสิ้นสุดลงก่อนกำหนดเนื่องจากถูกตัดงบประมาณ (ส่วนหนึ่งเป็นผลจาก[[สงครามเวียดนาม]]) และนาซาปรารถนาที่จะพัฒนายานอวกาศที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้
https://rabobsuriyauk.simdif.com/index.html?no_cache=0.030069755960811406
 
=== สกายแลป ===
เส้น 63 ⟶ 52:
 
สกายแลปเป็นสถานีอวกาศแห่งแรกของสหรัฐอเมริกา สถานีนี้มีน้ำหนักกว่า 75 ตัน โคจรรอบโลกเริ่มตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2516]] ([[ค.ศ. 1973]]) ถึงปี [[พ.ศ. 2522]] ([[ค.ศ. 1979]]) สามารถรองรับคนได้ 3 คนต่อภารกิจ สกายแลปเป็นสถานีต้นแบบในการเรียนรู้การใช้ชีวิตใน[[อวกาศ]] และใช้ในการทดลองทางวิทยาศาสตร์บ้าง เดิมทีสกายแลปวางแผนจะใช้ในการเทียบท่าของ[[กระสวยอวกาศ]]ด้วย แต่สกายแลปได้ถูกปลดประจำการก่อนถึงการปล่อยกระสวยอวกาศลำแรก และถูกชั้นบรรยากาศโลกเผาไหม้ทำลายในปี [[พ.ศ. 2522]] ([[ค.ศ. 1979]]) หลังจากปล่อยให้ตกลงใน[[มหาสมุทรอินเดีย]]ทางตะวันตกของ[[ออสเตรเลีย]]
https://rabobsuriyauk.simdif.com/index.html?no_cache=0.030069755960811406
 
=== อะพอลโล-โซยุส ===
โครงการทดสอบอะพอลโล-โซยุส ([[Apollo-Soyuz Test Project]]:[[Apollo-Soyuz Test Project|ASTP]]) เป็นการร่วมมือกันระหว่างสหัฐอเมริกาและโครงการอวกาศของโซเวียตในการนำยานอะพอลโลและยานโซยุสมาพบกันใน[[อวกาศ]] (เชื่อมยานกัน) ในปี [[พ.ศ. 2518]] ([[ค.ศ. 1975]])
https://rabobsuriyauk.simdif.com/index.html?no_cache=0.030069755960811406
 
=== ยุคกระสวยอวกาศ ===
เส้น 75 ⟶ 62:
 
สำหรับนาซาแล้ว กระสวยอวกาศไม่ได้ดีไปหมดทุกอย่าง ยิ่งช่วงเริ่มต้นโครงการมันมีความสิ้นเปลืองมาก และในปี [[พ.ศ. 2529]] ([[ค.ศ. 1986]]) กับเหตุการณ์อุบัติเหตุของ[[กระสวยอวกาศชาเลนเจอร์]]เป็นหนึ่งในเรื่องที่ร้ายแรงที่สุดสำหรับการเดินทางสู่อวกาศ
https://rabobsuriyauk.simdif.com/index.html?no_cache=0.030069755960811406
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[นาซา ทีวี]]
https://rabobsuriyauk.simdif.com/index.html?no_cache=0.030069755960811406
 
== อ้างอิง ==
เส้น 85 ⟶ 70:
{{คอมมอนส์|NASA}}
{{รายการอ้างอิง}}
https://rabobsuriyauk.simdif.com/index.html?no_cache=0.030069755960811406
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
เส้น 96 ⟶ 80:
[[หมวดหมู่:องค์การอวกาศ]]
[[หมวดหมู่:การสำรวจอวกาศ]]
https://rabobsuriyauk.simdif.com/index.html?no_cache=0.030069755960811406
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/นาซา"