ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สุลต่านสุลัยมาน ชาห์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 35:
==สายสกุลสุลต่านสุลัยมาน(ชาห์)ผู้สืบทอดบรรดาศักดิ์พระยาราชวังสัน==
 
ตำแหน่งจางวางอาสาจามเดิม ตั้งแต่มีปรากฏใน[[พงศาวดาร]]ตั้งแต่สมัยต้นกรุงศรีอยุธยานั้น ผู้ที่มีบรรดาศักดิ์เป็นพระราชวังสันหรือพระยาราชวังสันล้วนแล้วแต่เป็น[[มุสลิม]]ชนชาติจาม จนกระทั่งในสมัยสมเด็จพระเพทราชาเมื่อพระยารามเดโช(ชู)เชื้อสายจามแข็งเมือง และบุตรชายคือพระยาราชวังสัน(มะหมุด)ซึ่งเป็นจางวางอาสาจามขณะนั้นคงจะอยู่รับราชการไม่ได้ ตำแหน่งจางวางอาสาจามจึงว่างลง สมเด็จพระเพทราชาจึงทรงแต่งตั้งท่านฮะซัน(บุตรสุลต่านสุลัยมานชาห์)เป็นพระยาราชวังสันแทน คงเนื่องจากเห็นว่ามีความชำนาญเรื่องการเดินเรือและเป็นมุสลิมเช่นเดียวกับทหารในกองอาสาจาม
 
สายสกุลของสุลต่านสุลัยมานชาห์จึงได้รับบรรดาศักดิ์เป็นพระยาราชวังสันจางวางอาสาจามตั้งแต่นั้นมา และแม้ว่าพระยาราชวังสัน(ฮะซัน)จะต้องโทษถูกประหารชีวิตในครั้งศึกนครศรีธรรมราชก็ตาม แต่ต่อมาในสมัยแผ่นดินสมเด็จพระเจ้าท้ายสระ (ครองราชย์ 2251 - 2275) ท่านตะตาซึ่งเป็นบุตรของพระยาแก้วโกรพพิชัยพระยาแก้วโกรพพิชัยท่านนี้คือท่านฮูเซน บุตรสุลต่านสุลัยมานชาห์และเป็นพี่ชายของท่านฮะซัน <ref>ดูประวัติศาสตร์สายสกุลสุลต่านสุลัยมาน หน้า 122</ref> ก็ได้รับพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นพระยาราชวังสัน <ref>ประวัติศาสตร์สายสกุลสุลต่านสุลัยมาน หน้า 169</ref> และต่อมาเมื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯแต่งตั้งให้พระยาราชวังสัน(ตะตา)เป็น พระยาแก้วโกรพพิชัยแทนบิดา ก็โปรดแต่งตั้งให้น้องชายของท่านตะตาเป็นพระยาราชวังสันแทน ตำแหน่งพระยาราชวังสันได้รับการสืบทอดในสายสกุลสุลต่านสุลัยมานจนสิ้นกรุงศรีอยุธยา ต่อมาในสมัยกรุงธนบุรี ไม่มีปรากฏว่ามีตำแหน่งพระยาราชวังสัน แต่หากมีการใช้ทัพเรือเป็นทัพหลวงเมื่อใดสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชโปรดแต่งตั้งให้เจ้าพระยาจักรี(หมุด)เป็นแม่ทัพเรือทุกครั้งจนกระทั่งเจ้าพระยาจักรี(หมุด)ถึงอสัญกรรม เมื่อสิ้นกรุงธนบุรี จึงเริ่มปรากฏตำแหน่งพระยาราชวังสันอีกครั้ง โดยในช่วงรัตนโกสินทร์ตอนต้นมีพระยาราชวังสัน(หวัง) และต่อมา พระยาราชวังสัน(แม้น) พระยาราชวังสัน(ฉิม) พระยาราชวังสัน(นก)และพระยาราชวังสัน(บัว)ซึ่งเป็นพระยาราชวังสันท่านสุดท้ายที่ดำรงตำแหน่งจางวางอาสาจาม ซึ่งทุกท่านล้วนแล้วแต่สืบเชื้อสายมาจากสุลต่านสุลัยมานชาห์ทั้งสิ้น
 
ต่อมาในสมัย[[กรุงธนบุรี]] ไม่มีปรากฏว่ามีตำแหน่งพระยาราชวังสัน แต่หากมีการใช้ทัพเรือเป็นทัพหลวงเมื่อใดสมเด็จ[[พระเจ้าตากสินมหาราช]]โปรดแต่งตั้งให้เจ้าพระยาจักรี(หมุด)เป็นแม่ทัพเรือทุกครั้งจนกระทั่งเจ้าพระยาจักรี(หมุด)ถึงอสัญกรรม
บรรดาโอรสของ สุลต่าน สุลัยมาน ชาห์ คือ มุสตอฟา ฮะซัน และฮุเซน ถูกจับขึ้นไปยังกรุงศรีอยุธยา ต่อมาพวกเขาได้รับพระมหากรุณาธิคุณจนได้รับศักดินาสูงส่ง มุสตอฟา ได้เป็นพระยาไชยา ฮะซันได้เป็นพระยาราชวังสัน และฮุเซนได้เป็นพระยาพัทลุงคนที่ 3
 
เมื่อสิ้นกรุงธนบุรี จึงเริ่มปรากฏตำแหน่งพระยาราชวังสันอีกครั้ง โดยในช่วง[[รัตนโกสินทร์]]ตอนต้นมี[[พระยาราชวังสัน(หวัง)]] และต่อมา พระยาราชวังสัน(แม้น) [[พระยาราชวังสัน(ฉิม)]] [[พระยาราชวังสัน(นก)]]และ[[พระยาราชวังสัน(บัว)]]ซึ่งเป็นพระยาราชวังสันท่านสุดท้ายที่ดำรงตำแหน่งจางวางอาสาจาม ซึ่งทุกท่านล้วนแล้วแต่สืบเชื้อสายมาจากสุลต่านสุลัยมานชาห์ทั้งสิ้น
พระราชพงศาวดารเมืองพัทลุงกล่าวถึงประวัติสุลต่านสุลัยมานไว้ว่า
พระยาพัทลุง (ขุน) กับพระยาสมุทรบุรานุรักษ์ (หวัง) ได้เล่ามาแล้วว่า ทั้งสองท่านนี้ สืบสายสกุลลงมาจากสุลต่านสุลัยมานซึ่งอพยพเข้ามายึดชัยภูมิตั้งบ้านเมืองที่ตำบลหัวเขาแดงตั้งแต่รัชสมัย สมเด็จพระเอกาทศรถ พ.ศ. 2148 โน้น
 
บรรดาโอรสของ สุลต่าน สุลัยมาน ชาห์ คือ มุสตอฟา ฮะซัน และฮุเซน ถูกจับขึ้นไปยังกรุงศรีอยุธยา ต่อมาพวกเขาได้รับพระมหากรุณาธิคุณจนได้รับ[[ศักดินา]]สูงส่ง มุสตอฟา ได้เป็น"พระยาไชยา" ฮะซันได้เป็นซันได้เป็น"พระยาราชวังสัน" และฮุเซนได้เป็น"พระยาพัทลุง"คนที่ 3
จริงๆ แล้วผู้นำที่นำพวกพ้องชาวชวาเมืองสาเลห์ หรือสเลมานอพยพลงเรือมาอยู่ที่หัวเขาแดงนั้น คือพระบิดาของสุลต่านสุลัยมาน ชื่อ “ดะโต๊ะ โมกอล” ส่วนสุลต่านสุลัยมานเองขณะนั้นยังเด็กอายุประมาณ 10 ขวบ สาเหตุที่ต้องอพยพมาก็เพื่อหนีจากนักล่าอาณานิคมชาวฮอลันดา ซึ่งกำลังเพิ่งจะเริ่มขยายอำนาจเข้ามาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ชุมชนของท่านสุลต่านได้พยายามต่อต้านอำนาจของชาวฮอลันดาที่รุกรานเข้ามาครอบครองแล้วพ่ายแพ้
 
[[พระราชพงศาวดารเมืองพัทลุง]]กล่าวถึงประวัติสุลต่านสุลัยมานไว้ว่า
สมัยนั้นเมืองพัทลุงมีแล้ว แต่เมืองขณะนั้นตั้งอยู่ที่เมืองสทิงพระ (สมัยโบราณเป็นเมืองเก่าเรียกว่าสตรึงเพรียะ ตั้งแต่อาณาจักรศรีวิชัยโน่น ชื่อเสียงจึงฟังเป็นเขมรๆ)
[[พระยาพัทลุง (ขุน)]] กับพระยาสมุทรบุรานุรักษ์ (หวัง) ได้เล่ามาแล้วว่า ทั้งสองท่านนี้ สืบสายสกุลลงมาจากสุลต่านสุลัยมานซึ่งอพยพเข้ามายึดชัยภูมิตั้งบ้านเมืองที่ตำบลหัวเขาแดงตั้งแต่รัชสมัย สมเด็จพระเอกาทศรถ พ.ศ. 2148 โน้น
 
จริงๆ แล้วผู้นำที่นำพวกพ้องชาว[[ชวา]]เมืองสาเลห์ หรือสเลมานอพยพลงเรือมาอยู่ที่หัวเขาแดงนั้น คือพระบิดาของสุลต่านสุลัยมาน ชื่อ “ดะโต๊ะ โมกอล” ส่วนสุลต่านสุลัยมานเองขณะนั้นยังเด็กอายุประมาณ 10 ขวบ สาเหตุที่ต้องอพยพมาก็เพื่อหนีจากนักล่า[[อาณานิคม]]ชาว[[ฮอลันดา]] ซึ่งกำลังเพิ่งจะเริ่มขยายอำนาจเข้ามาใน[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] ชุมชนของท่านสุลต่านได้พยายามต่อต้านอำนาจของชาวฮอลันดาที่รุกรานเข้ามาครอบครองแล้วพ่ายแพ้
 
สมัยนั้นเมือง[[พัทลุง]]มีแล้ว แต่เมืองขณะนั้นตั้งอยู่ที่[[เมืองสทิงพระ]] (สมัยโบราณเป็นเมืองเก่าเรียกว่า"สตรึงเพรียะ" ตั้งแต่[[อาณาจักรศรีวิชัยโน่น]] ชื่อเสียงจึงฟังเป็นเขมรๆ[[เขมร]])
 
ก่อนดะโต๊ะ โกมอล นำครอบครัวพวกพ้องบริวารมาขึ้นที่ชายหาดหัวเขาแดง เป็นเวลาที่กำลังมีพวกโจรสลัดเข้าปล้นเมืองพัทลุง โดยที่เจ้าเมืองไม่อาจต่อสู้ได้ พวกโจรสลัดกระทำย่ำยีโหดเหี้ยม เจ้าเมืองเกรงพระราชอาญาจึงชิงฆ่าตัวตาย ส่วนกรมการเมืองทั้งหมดลงพระราชอาญาจำตรวนคุมตัวเข้ากรุงศรีอยุธยาหมด