ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทวทาสี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
 
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1:
[[File:Devadasi 1920s.JPG|thumb|ภาพถ่ายของเทวทาสีสองนางใน[[ทมิฬนาฑู]] ทางตอนใต้ของอินเดีย เมื่อราวทศวรรษ 1920s]]
ใน[[อินเดียใต้]] '''เทวทาสี''' (Devadasi) หมายถึงสตรีที่ถูกถวายเพื่อบูชาและรับใช้เทพเจ้าหรือเทวสถานตลอดชีวิต พิธีถวายนางเทวทาสีนั้นเรียกว่าพิธี ปตตุกัตตู (Pottukattu) พิธีกรรมซึ่งคล้ายกับ[[พิธีวิวาหะ]]หรองานมงคลสมรส หน้าที่ของเทวทาสีนอกจากการดูแลเทวสถานและการประกอบพิธีกรรมแล้ว ยังต้องเรียนรู้และสามารถประกอบธรรมเนียมทางศิลปะของอินเดียได้ เช่น [[ภารตนาฏยัม]] (Bharatanatyam) [[กุจิปุดี]] (Kuchpudi) และการเต้นรำแบบ[[โอฑิษาฑิสสี]] (Odissi dances) เทวทาสีถือว่ามีตำแหน่งทางสังคมที่สูงอันเนื่องมาจากการร่ายรำและดนตรีที่จำเป็นต่อพิธีกรรมทางศาสนานั้นก็เป็นศิลปะชั้นสูงเช่นกัน คำว่า เทวทาสี แปลตรงตัวว่า ข้ารับใช้ (ที่เป็นสตรี) ของเทพเจ้า เกิดจากการรวมคำ[[ภาษาสันสกฤต]]สองคำคือ ทาสี (dasi) ซึ่งเป็นรูปสตรีของคำว่าทาส (das) อันแปลว่าผู้รับใช้ และคำว่า เทว (deva/dewa) แปลว่าเทพเจ้า
 
หลังจากเข้ามาเป็นเทวทาสีแล้ว มักจะใช้เวลาไปกับการเรียนรู้พิธีกรรมทางศาสนา และการร่ายรำ บ้างอาจมีบุตรกับนักบวชหรือเจ้าหน้าที่ในระดับสูงที่แนะนำและสอนพวกนางในเรื่องดนตรีและการร่ายรำ