ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าเหี้ยนเต้"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 37:
พระเจ้าเหี้ยนเต้ถูกลดพระอิสริยยศจากพระจักรพรรดิหรือฮ่องเต้ เป็น ชนชั้นสูง ตำแหน่ง ซานหยางกง ถูกเนรเทศพร้อมครอบครัวให้ไปอยู่ที่ เมืองซานหยาง และใช้ชีวิตในฐานะสามัญชนคนหนึ่งอย่างสงบสุขเรื่อยมา โดยท่านกับพระนางโจเฮา มักท่องไปตามหมู่บ้าน รักษาโรค ช่วยเหลือประชาชน เป็นที่รักใคร่ของผู้คนเป็นอันมาก จนได้ขนานนามว่า แพทย์พญามังกรพญาหงส์ จนพระเจ้าเหี้ยนเต้เสด็จสวรรคตในปี [[พ.ศ. 777]] ขณะมีพระชนมายุ 53 พรรษา ในรัชสมัยของพระเจ้าโจยอย และจากนั้นอีก 26 ปีถัดมา พระนางโจเฮาก็สวรรคตตามไป ในรัชสมัยของพระเจ้าโจฮวน พระศพของทั้งคู่ถูกฝังไว้เคียงข้างกัน ณ สุสานจังหลิง ปิดฉากตำนานแห่งหุ่นเชิดโดยสมบูรณ์
 
บรรดาลูกหลานส่วนหนึ่งได้แต่งงานกับชาวเมืองท้องถิ่น กำเนิดเป็นสายตระกูลสืบทอดกันมา จนถึงปี พ.ศ. 852ช่วงปลายราชวงศ์จิ้น ชนเผ่า[[ซฺยงหนู]] ได้กรีฑาทัพเข้ามารุกรานเมืองซานหยาง ในปลายรัชสมัยของพระเจ้าจิ้นหวยตี้ (สุมาชื่อ) เหลนของสุมาอี้ ก่อนที่ราชวงศ์จิ้นตะวันตกจะล่มสลายลงในอีก 7 ปีต่อมา ทำให้ลื้อของพระเจ้าเหี้ยนเต้ ชื่อ หลิวอาจือ ตัดสินใจพาครอบครัวและคณะกว่าสองพันคน ลงเรือหนีภัยสงครามไปญี่ปุ่น และได้เข้ารับราชการในราชสำนักญี่ปุ่น เป็นต้นตระกูล ‘ฮาราดะ’ และแยกสายตระกูลออกไปอีกนับสิบสกุล ทุกๆการย้ายไปตั้งถิ่นฐานในญี่ปุ่นครั้งนั้น ปีได้นำเอาอารยธรรมแบบจีนไปเผยแผ่แก่ญี่ปุ่น จะมีลูกหลานชาวซึ่งขณะนั้นอารยธรรมญี่ปุ่นโบราณยังไม่เจริญนัก ทำให้อารยธรรมญี่ปุ่นส่วนมากได้รับอิทธิพลมาไหว้บรรพชนจากจีน พระเจ้าเหี้ยนเต้และได้รับเอาตัวอักษรแบบจีนซึ่งมีรากฐานมาจากอักษรภาพมาใช้ และโดยผ่านทางสื่อตัวอักษรนี้เอง ชาวญี่ปุ่นได้เรียนความรู้เบื้องต้นทางการแพทย์ การใช้ปฏิทินและดาราศาสตร์ ตลอดจนปรัชญาของลัทธิขงจื๊อ สุสานจังหลิง
 
== พระบรมวงศานุวงศ์ ==