ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Magnamonkun (คุย | ส่วนร่วม)
Magnamonkun (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13:
|locale = [[กรุงเทพมหานคร]], [[ประเทศไทย]]
|start = [[สถานีบางขุนนนท์]]
|end = [[สถานีสุวินทวงศ์แยกร่มเกล้า]]
|stations = 17 (ก่อสร้าง)<br>12 (โครงการ)<br>29 (ทั้งโครงการ)
|routes =
บรรทัด 33:
|map_state = show
}}
'''รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม (บางขุนนนท์ - ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย - บางกะปิ - มีนบุรีแยกร่มเกล้า)''' ({{lang-en|Metropolitan Rapid Transit Orange Line, MRT Orange Line}}) เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบ[[รถไฟฟ้ามหานคร]] ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ[[โครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและพื้นที่ต่อเนื่อง|โครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล]] ดำเนินการโดย[[การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย]] เป็นระบบรถไฟฟ้าที่มีทั้งโครงสร้าง[[ใต้ดิน]] และ[[ยกระดับ]] มีแนวเส้นทางที่รองรับการเดินทางภายในเขตเมืองตามแนวตะวันออก - ตะวันตกของกรุงเทพมหานคร เริ่มต้นจากบริเวณจุดตัดทางรถไฟสายสายธนบุรี (ทางรถไฟสายใต้เดิม) แล้วลอดใต้[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] เข้าสู่ย่านเมืองเก่า ย่านใจกลางเมืองก่อนออกไปยัง[[ชุมชนประชาสงเคราะห์]]และออกสู่ย่านชานเมือง[[ถนนรามคำแหง]] มาสิ้นสุดเส้นทางที่ชานเมืองด้านทิศตะวันออกของกรุงเทพมหานครบริเวณจุดตัดถนนรามคำแหงกับถนนสุวินทวงศ์
 
เส้นทางรถไฟฟ้าสายนี้เกิดขึ้นจากการปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง พ.ศ. 2538 ที่นำเอาเส้นทางรถไฟฟ้าสายสีส้มเดิมช่วงสามเสน-บางกะปิ มาต่อขยายเส้นทางจากสามเสน (ซังฮี้) ไปยังบางบำหรุ กลายเป็นเส้นทางบางบำหรุ-บางกะปิที่กำหนดให้เป็นสายสีส้ม บรรจุในแผนแม่บทฯ ของ[[สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร|สำนักนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร]] (สนข.) เป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2547 โดยในปี พ.ศ. 2553 ได้มีการแก้ไขแนวเส้นทางบางส่วนโดยสลับกับโครงข่ายในเมืองของ[[รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน]] ทำให้แนวเส้นทางของรถไฟฟ้าสายสีส้มจากเดิมกลายเป็นตลิ่งชัน - มีนบุรี และใน พ.ศ. 2554 ก็ได้มีการแก้ไขแบบแผนอีกครั้ง โดยตัดเส้นทางจากเดิมที่จะไปสิ้นสุดที่ตลิ่งชัน ให้มาสุดอยู่แค่แยกจรัญสนิทวงศ์เนื่องจากเส้นทางทับซ้อนกับ[[รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน|สายสีแดงอ่อน]]ช่วง[[ตลิ่งชัน]]-[[ศิริราช]] ทำให้แนวเส้นทางของรถไฟฟ้าสายสีส้มเหลือเพียงแค่ บางขุนนนท์ - มีนบุรี
บรรทัด 91:
 
=== สถานี ===
มีทั้งหมด 29 สถานี เป็นสถานีใต้ดินทั้งหมด 22 สถานี (บางขุนนนท์ - คลองบ้านม้า) และเป็นสถานียกระดับทั้งหมด 7 สถานี (สัมมากร - สุวินทวงศ์แยกร่มเกล้า)
 
;รูปแบบสถานี
บรรทัด 124:
| 1 || งานออกแบบควบคู่การก่อสร้างโครงสร้างส่วนใต้ดิน ช่วงศูนย์วัฒนธรรมฯ-รามคำแหง 12<br>ระยะทาง {{km to mi|6.29|abbr=yes|precision=2|wiki=yes}} || 20,698 || rowspan="2" | กิจการร่วมค้าซีเคเอสที<br>{{small|(บมจ. ช.การช่าง และ บมจ.ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น)}} || || 66.81 % (เร็วกว่าแผน 0.20 %)
|-
| 2 || งานออกแบบควบคู่การก่อสร้างโครงสร้างส่วนใต้ดิน ช่วงรามคำแหง 12-หัวหมากรามคำแหง 34 <br>ระยะทาง {{km to mi|3.4|abbr=yes|precision=2|wiki=yes}} || 21,572 || || 50.05 % (เร็วกว่าแผน 1.70 %)
|-
| 3 || งานออกแบบควบคู่การก่อสร้างโครงสร้างส่วนใต้ดิน ช่วงหัวหมากรามคำแหง 34-คลองบ้านม้า <br>ระยะทาง {{km to mi|4.04|abbr=yes|precision=2|wiki=yes}} || 18,589.66 || บมจ. อิตาเลียนไทย ดีเวลลอปเม้นท์ || || 52.10 % (เร็วกว่าแผน 3.10 %)
|-
| 4 || งานก่อสร้างโครงสร้างยกระดับ ช่วงคลองบ้านม้า-สุวินทวงศ์แยกร่มเกล้า <br>ระยะทาง {{km to mi|8.8|abbr=yes|precision=2|wiki=yes}} || 9,999 || บมจ. ยูนิค เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชัน || || 42.91 % (เร็วกว่าแผน 7.14 %)
|-
| 5 || งานก่อสร้างศูนย์ซ่อมบำรุง และอาคารจอดแล้วจร || 4,901 ||กิจการร่วมค้าซีเคเอสที<br>{{small|(บมจ. ช.การช่าง และ บมจ.ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น)}} || || 58.35 % (เร็วกว่าแผน 8.17 %)