ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาสติปัฏฐานสูตร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 134:
# ใน​[[อรรถกถา]]​ใช้​หลัก[[ปริญญา​ 3]] ​เป็น​เกณฑ์​ใน​การอธิบายเนื้อ​ความ​ทั้ง​หมด​ ​และ​ท่านขยาย​ความ[[ปริญญา​ 3]] ​ไว้​แล้ว​ ​ใน​นิทเทสของวิสุทธิ​ 3 ​ได้​แก่​ ​[[ทิฏฐิวิสุทธิ​]] ​[[กังขาวิตรณวิสุทธิ]]​ ​และ[[​มัคคามัคญาณทัสสนวิสุทธิ​]] ​ซึ่ง​เมื่อรวมพื้นฐาน​แล้ว​ก็​ได้​[[วิสุทธิ​]]ทั้ง​ 7 ​หรือ​ [[​วิสุทธิมรรค]]​ทั้ง​เล่มนั่นเอง​. ​ฉะ​นั้น​ท่าน​จึง​อ้าง​ถึง[[​วิสุทธิมรรค]]​ไว้​บ่อยมาก​ ​และ​ใครที่​ไม่​เคยอ่าน[[วิสุทธิมรรค]]​ ​หรือ​อ่าน​แล้ว​แต่​ไม่​รู้​เรื่อง​เพราะ​ไม่​ชำ​นาญพระอภิธรรม​ ​หากไปอ่านอรรถกถาของ[[มหาสติปัฏฐานสูตร​]]เป็น​ต้น​ ​และ​อรรถกถา​ส่วน​ใหญ่​ที่​เป็น​ข้อปฏิบัติอาจ​จะ​ไม่​เข้า​ใจเลย​ ​เพราะ​ข้ามลำ​ดับการศึกษา​ไปนั่นเอง​ ​แต่​ทั้ง​นี้หาก​จะ​อ่าน​ให้​ผ่านตา​ไว้​ก่อน​ใน​ระหว่างศึกษาคัมภีร์พื้นฐาน​อยู่​ก็ควรทำ​ ​เพราะ​จะ​สะสม​เป็น​อุปนิสัย​ ​ให้​สามารถ​เข้า​ใจ​ใน​อนาคต​ได้​ใน​ที่สุด​.
# ก่อน[[สติปัฏฐานสูตร​]] ​ใน​[[มัชฌิมนิกาย]]​ ​มีสูตรชื่อว่า​ [[สัมมาทิฏฐิสูตร]] ​ซึ่ง​ท่านพระ[[สารีบุตร]]บอกกรรมฐาน​ไว้​มากกว่า'''สติปัฏฐานสูตร'''อีก​ ​โดย​กล่าว​ไว้​ถึง​ 32 [[​กรรมฐาน]]​ ​ใน​ขณะที่'''สติปัฏฐานสูตร'''กล่าว​ไว้​เพียง​ 21 ​กรรมฐาน​เท่า​นั้น​. ​ใน​บรรดาพระสูตร​ด้วย​กัน​ [[​สัมมาทิฏฐิสูตร​]]จึง​ถูกจัดว่า​ ​เป็นสูตรที่​แสดง[[กรรมฐาน]]​ไว้​มากที่สุด.
# ใน​[[อรรถกถา]]​และ​[[ฏีกา]]ท่านอธิบายคำ​ว่า​ ​[[เอกายนมรรค​]] ​ไว้​ว่า​ ​หมาย​ถึง​ ​ทางมุ่งสุ่พระสู่พระ[[นิพพาน]]อย่างเดียว​. ​ซึ่ง​จาก​คำ​อธิบาย​และ​ตัวอย่าง​ใน​ฏีกา​นั้น​ ​ทำ​ให้​ทราบ​ได้​ว่า​ ​เอกายนมรรคอาจ​จะ​มีข้อปฏิบัติหลายอย่าง​ได้​ ​เช่น​ ​ในสติปัฏฐานสูตรก็มี[[กรรมฐาน]]​ถึง​ 21 ​ข้อ​ ​ใน​ ​สัมมาทิฏฐิสูตรก็มีกรรมฐาน​ถึง​ 32 ​ข้อ​ ​เป็น​ต้น​.
# จาก​การที่สติปัฏฐาน​เป็น​ได้​ทั้ง​[[สมถะ​]]และ​[[วิปัสสนา]]​จึง​ทำ​ให้​ทราบ​ได้ ​ว่าสติปัฏฐานมี​ทั้ง​บัญญัติ​และ​ปรมัตถ์​เป็น​อารมณ์​ ​เพราะ​สมถะ​ ​เช่น​ ​​ นิมิต​ ​ซึ่ง​เป็น​ที่ทราบ​กัน​ดีว่า[[นิมิต]]เป็น​บัญญัติ​, ​ส่วน​[[วิปัสสนา​]] ​เช่น​ ​[[อิริยาบถบรรพะ​]] ​ก็มี[[อิริยาบถ​]]และ[[ไตรลักษณ์]]เป็น​ต้น​ ​ซึ่ง​เป็น​บัญญัติ​ ​เป็น​อารมณ์​ได้​.
# ในสติปัฏฐานสูตรจะเน้นให้พิจารณาทั้งสิ่งที่เป็นของตนและของคนอื่นเพราะมี ข้อความว่า "พหิทฺธา วา กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ-เป็นผู้หมั่นพิจารณากายในกายอยู่" อยู่ในทุก[[บรรพะ]]ทั้ง 21 บรรพะเลยทีเดียว ซึ่งพระอรรถกถาและพระฏีกาจารย์ก็ย้ำไว้อีกในอรรถกถาของทุกบรรพะเช่นกันว่า ''"พิจารณาภายนอก หมายถึง ของคนอื่น"''. คำนี้ก็สอดคล้องกับสูตรทั่วไป เช่นที่เรามักได้ยินคำว่า ''"รูปที่เป็นอดีต อนาคต ปัจจุบัน ภายใน ภายนอก หยาบ ละเอียด เลว ประณีต ไกล ใกล้"''เป็นต้น.