ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาสติปัฏฐานสูตร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 97:
'''นัยของเนตติปกรณ์'''
#[[s:เนตติ นยสมุฏฐาน#สีหวิกีฬิตนัย|สีหวิกีฬิตนัย]] จะลำดับข้อปฏิบัติให้สอดคล้องกะอัธยาศัยของสีหะคือครูผู้สอน ในนยสมุฏฐานจึงแสดงองค์สภาวะธรรมข้อที่เท่ากันแม้ต่างหมวดไว้เท่ากัน.
#[[s:เนตติ_นยสมุฏฐาน#ติปุกขลนัย|ติปุกขลนัย]] จะลำดับข้อปฏิบัติให้สอดคล้องกะอัธยาศัยของสัตว์ที่จะออกจากวัฏฏะ ในนยสมุฏฐานจึงเป็นการนำสีหวิกกีฬหวิกีฬิตนัยมาลำดับใหม่ให้เหมาะกับรายบุคคลนั้นๆ ดังนั้น องค์สภาวธรรม คนละลำดับข้อกัน ถ้าต่างหมวดก็อาจมีองค์ธรรมไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับอัธยาศัยของสัตว์คนนั้นๆ.
 
'''พระมหาสิวะกับมหาอรรถกถาไม่ได้ขัดแย้งกัน'''
คำอธิบายของมหาอรรถกถาในมหาสติปักฐานสูตรมีสองแบบ คือ แบบที่อธิบายด้วยสีหวิกกีฬิตนัย และแบบที่อธิบายด้วยติปุกขลนัย.
#'''มหาอรรถกถาแบบที่อธิบายด้วยสีหวิกกีฬิตนัยหวิกีฬิตนัย''' จะอยู่ในอรรถกถาของแต่ละบรรพะ เพราะสติปัฏฐาน 4 จัดอยู่ในสีหวิกกีฬิตนัยหวิกีฬิตนัย มหาสติปัฏฐานสูตรจึงแสดงตามสีหวิกกีฬิตนัยหวิกีฬิตนัย, ฉะนั้น ในอรรถกถาของแต่ละบรรพะจึงต้องอธิบายองค์สภาวะธรรมของบรรพะตามลำดับสีหวิกกีฬิตนัยหวิกีฬิตนัย คือ แสดงลำดับครบถ้วนตั้งแต่การเชื่อมโยงกับบรรพะก่อน ไปจนวิธีการทำกรรมฐานจนถึงขยญาณ ตามลำดับในพระบาลีแห่งมหาสติปัฏฐานสูตร, ไม่ใช่การจัดโปรแกรมเฉพาะบุคคลแบบติปุกคลนัย.
#'''มหาอรรถกถาแบบที่อธิบายด้วยติปุกขลนัย''' จะอยู่นอกอรรถกถาของบรรพะ เช่น
##ในมหาอรรถกถาใช้ติปุกขลนัยอธิบายวิธีเลือกกรรฐานไว้ตอนท้ายว่า "อิริยาบถบรรพะกับสัมปชัญญบรรพะไม่ใช่อารมณ์กรรมฐานที่อภินิเวสได้ (ไม่ต้องเอามาเป็นอารมณ์กรรมฐาน)" แต่ก็แสดงว่า "บรรพะนี้เป็นอารมณ์สมถกรรมฐานหรืออารมณ์วิปัสสนากรรมฐาน" ซึ่งก็หมายถึงสมถยานิกบุคคลและวิปัสสนายานิกบุคคลในติปุกขลนัยนั่นเอง. ซึ่งผู้ที่อ่านผ่านๆ จะไม่เข้าใจและมองว่ามหาอรรถกถาขัดแย้งกันเอง พระมหาสิวเถระจึงต้องใช้สีหวิกกีฬิหวิกีฬิตนัยมาอธิบายติปุกขลนัยของมหาอรรถกถาว่า "อิริยาบถเมื่อทำฆนวินิพโภคะแล้ว ก็จะได้นามรูปมาเป็นอารมณ์แก่วิปัสสนายานิก ฉะนั้น มหาอรรถกถาแม้กล่าวว่าสองบรรพะนี้ไม่เป็นอารมณ์กรรมฐานด้วยติปุกขลนัยไว้ แต่ก็ในอรรถกถาของทั้งสองบรรพะนี้มหาอรรถกถาก็อธิบายไว้ด้วยสีหวิกกีฬิตนัยหวิกีฬิตนัย. เมื่อพระมหาสิวะอธิบายติปุกขลนัยให้เป็นสีหวิกีฬิตนัยอย่างนี้ ครูผู้สอนกรรมฐานก็จะเข้าใจมหาอรรถกถาตรงตามจุดประสงค์ว่า "เมื่อจะให้อารมณ์กรรมฐาน ไม่ควรเริ่มให้อิริยาบถบรรพะและสัมปชัญญะบรรพะตั้งแต่แรก เพราะเป็นอสัมมสนธรรม, แต่เมื่อชำนาญจตุธาตุววัตถานและนามบรรพะด้วยญาตปริญญาแล้ว แม้อิริยาบถกับสัมปชัญญะบรรพะ ก็เป็นอารมณ์กรรมฐานได้ด้วยการทำฆนวินิพโภคะ".
 
จะมองว่า สิ่งที่มีอยู่แล้วไม่ต้องปฏิบัติให้ทำขั้นต่อไปได้เลย เช่น คนที่ได้โลกิยอัปปนาอยู่แล้วเป็นอุคฆฏิตัญญูไม่ต้องทำกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน ให้ทำสมถะแล้วปฏิบัติธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานได้เลย เป็นต้น หลักการนี้ก็ถูกต้อง แต่ในสถานการที่ต้องสอนกรรมฐานจริง แม้อุคฆฏิตัญญูบางท่านก็ยังต้องพึ่งกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน เช่น โยคีอุคฆฏิตัญญูอาจไม่เคยทำโลกิยอัปปนามาก่อนในชาตินั้น เนตติปกรณ์ให้อุคฆฏิตัญญูเป็นสมถยานิก จึงต้องให้โยคีนี้ทำฌานก่อน เมื่อจะต้องสอนอารมณ์กรรมฐานในมหาสติปัฏฐานสูตรจึงต้องเลือกให้กายานุปัสสนาสติปัฏฐานที่เหมาะกะสมถยานิก เป็นต้น.