ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การทิ้งระเบิดที่เดรสเดินในสงครามโลกครั้งที่สอง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 43:
*Taylor (2005), front flap,{{verification needed|date=November 2013}}<!--Taylor 2005 as cited else where in this article is a paper back--> which gives the figures 1,100 heavy bombers and 4,500 tons.
*Webster and Frankland (1961) give 805 Bomber Command aircraft 13 February 1945 and 1,646 US bombers 16 January – 17 April 1945. {{harv|Webster|Frankland|1961|pp=198, 108–109}}.
[http://books.guardian.co.uk/reviews/history/0,6121,1142632,00.html "Mission accomplished"] {{webarchive|url=https://web.archive.org/web/20080606085222/http://books.guardian.co.uk/reviews/history/0,6121,1142632,00.html |date=6 June 2008 }}, ''[[The Guardian]]'', 7 February 2004.</ref> การทิ้งระเบิดครั้งนี้ก่อให้เกิด[[พายุเพลิงได้]] ทำลายมากกว่า 1,600 เอเคอร์(6.5 ตารางกิโลเมตร)ของส่วนกลางเมือง{{sfn|Harris|1945}} มีประชากรที่เสียชีวิตลง{{efn|Causalty figures have varied mainly due to false information spread by Nazi German and Soviet propaganda. Some figures from historians include: 18,000+ (but less than 25,000) from Antony Beevor in "The Second World War"; 20,000 from Anthony Roberts in "The Storm of War"; 25,000 from Ian Kershow in "The End"; 25,000–30,000 from Michael Burleigh in "Moral Combat"; 35,000 from Richard J. Evans in "The Third Reich at War: 1939-1945".}}จำนวนประมาณ 22,700 คน<ref name="Shortnews"/>ถึง 25,000 คน<ref name="Rolf"/> ถึงแม้ว่าจะมีการอ้างอิงถึงตัวเลขเสียชีวิตจำนวนมากขึ้น การตีโฉบฉวยของกองทัพอากาศทหารบกสหรัฐได้เพิ่มเติมอีกครั้ง จำนวนสองครั้ง เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 2 มีนาคม มุ่งเป้าหมายไปที่ลานจอดรถไฟของเมืองและการตีโฉบฉวยขนาดเล็กครั้งหนึ่งเมื่อวันที่ 17 เมษายน มุ่งเป้าหมายไปที่เขตอุตสาหกรรม
 
โฆษณาชวนเชื่อของเยอรมันได้กล่าวออกมาทันทีว่าภายหลังจากการโจมตีและการอภิปรายหลังสงคราม<ref name="Norwood, 2013, page 237">Norwood, 2013, page 237</ref> ว่าการโจมตีนั้นมีเหตุสมควรหรือไม่นั้นที่ทำให้การทิ้งระเบิดกลายเป็นหนึ่งในเหตุผลทางศีลธรรม กรณีที่โด่งดัง(causes célèbres)ในสงคราม ปี ค.ศ. 1953 [[กองทัพอากาศสหรัฐ]]ได้รายงานปกป้องปฏิบัติการว่า การทิ้งระเบิดที่สมเหตุต่อเป้าหมายทางยุทธศาสตร์ ซึ่งพวกเขาได้สังเกตุเห็นว่า เป็นศูนย์กลางการขนส่งทางรถไฟและการสื่อสาร์ที่สำคัญ ที่ตั้งโรงงาน 110 แห่ง และคนงาน 50,000 คนที่สนับสนุนในความพยายามทำสงครามของเยอรมัน<ref name="USAFHD" /> นักวิจัยหลายคนได้อ้างว่าไม่ใช่โครงสร้างพื้นฐานคมนาคมทั้งหมด เช่น สะพาน เป็นเป้าหมาย และไม่ได้มีพื้นที่เขตอุตสาหกรรมที่กว้างขวางบนนอกใจกลางเมือง{{sfn|McKee|1983|p=62}} มีการวิจารณ์ต่อการทิ้งระบิดครั้งนี้ได้รับการยืนยันว่าเดรสเดิน เป็นสถานที่สำคัญทางวัฒนธรรม ในขณะที่ได้มองข้ามความสำคัญทางยุทธศาสตร์และอ้างว่าการโจมตีดังกล่าวเป็นการทิ้งระเบิดลงบนพื้นดินแบบไม่เจาะจงและไม่สอดคล้องกับผลประโยชน์ทางทหาร<ref>[https://www.telegraph.co.uk/history/world-war-two/11410633/Dresden-was-a-civilian-town-with-no-military-significance.-Why-did-we-burn-its-people.html Dresden was a civilian town with no military significance. Why did we burn its people?] {{webarchive|url=https://web.archive.org/web/20160421180757/http://www.telegraph.co.uk/history/world-war-two/11410633/Dresden-was-a-civilian-town-with-no-military-significance.-Why-did-we-burn-its-people.html |date=21 April 2016 }} By Dominic Selwood. ''[[The Telegraph (London)|The Telegraph]]'', 13 February 2015</ref>{{sfn|Addison|Crang|2006|loc=Chapter 9 p. 194}}{{sfn|McKee|1983|pp=61–94}} แม้ว่าจะไม่ได้รับการสนับสนุนโดยมาตรฐานทางกฏหมายใดๆ ในขณะที่เดรสเดินได้รับการปกป้องและตั้งเป็นศูนย์กลางการขนส่งทางทหารที่สำคัญและเป็นที่ตั้งของโรงงานอุตสาหกรรมสงครามหลายแห่ง บางครั้งได้อ้างว่าการตีโฉบฉวยครั้งนี้คือการก่ออาชญากรรมสงคราม<ref>http://news.bbc.co.uk/1/hi/world/europe/3830135.stm</ref> บางครั้ง, ส่วนใหญ่ในกลุ่มเยอรมันฝ่ายขวาจัด ได้เรียกว่าการทิ้งระเบิดครั้งนี้ว่าเป็น[[การสังหารหมู่]] เรียกว่า "การทิ้งระเบิดฮอโลคอสต์ที่เดรสเดิน"<ref name=Volkery/><ref>Rowley, Tom (8 February 2015) [https://www.telegraph.co.uk/history/world-war-two/11397715/Dresden-The-wounds-have-healed-but-the-scars-still-show.html "Dresden: The wounds have healed but the scars still show"] {{webarchive|url=https://web.archive.org/web/20171003180114/http://www.telegraph.co.uk/history/world-war-two/11397715/Dresden-The-wounds-have-healed-but-the-scars-still-show.html |date=3 October 2017 }} ''[[The Sunday Telegraph|The Telegraph]]''</ref>