ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เดเจมวรีอานา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: {{Infobox military conflict|conflict=เดเคมเวียนา|commander1={{nowrap|{{flagicon|Greece|royal}} Archbishop Damaskinos of Athens|Archbishop Damaski...
(ไม่แตกต่าง)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:41, 15 กุมภาพันธ์ 2563

เดเคมเวียนา (กรีก: Δεκεμβριανά, "เหตุการณ์เดือนธันวาคม") หมายถึงหนึ่งในการสู้รบปะทะกันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองในกรุงเอเธนส์ ตั้งแต่วันที่ 3 ธันวาคม ค.ศ. 1944 ถึง 11 มกราคมค ค.ศ. 1945 ความขัดแย้งคือการถึงสิ้นสุดของเดือนแห่งความตึงเครียดระหว่างฝ่ายคอมมิวนิสต์ แนวร่วมปลดปล่อยชาติ(EAM) บางส่วนหนึ่งของปีกทหาร, กองทัพปลดปล่อยประชาชนชาวกรีซ(ELAS) ประจำการอยู่ในกรุงเอเธนส์ พรรคคอมมิวนิสต์กรีซ(KKE) และองค์กรเพื่อปกป้องการต่อสู้ของประชาชน(OPLA) จากฝ่ายหนึ่งและจากอีกฝ่ายหนึ่ง รัฐบาลกรีซ บางส่วนหนึ่งของกองทัพเฮลเลนิก กองกำลังตำรวจภูธรเฮลเลนิก ตำรวจเมือง องค์กรเอ็กซ์ที่เป็นฝ่ายขวาจัด พร้อมทั้งกลุ่มอื่นๆและกองทัพบกบริติซ[3]

เดเคมเวียนา
ส่วนหนึ่งของ สงครามโลกครั้งที่สอง, สงครามกลางเมืองกรีซ และสงครามเย็น

รถถังเชอร์แมนและทหารจากกองพันทหารโดดร่ม (สก็อตติช) ที่ 5, กองพลน้อยทหารโดดร่มที่ 2 บริตช พร้อมกับพันธมิตรกรีซ, เข้าปะทะรบกับสมาชิกของกองทัพปลดปล่อยประชาชนชาวกรีซในกรุงเอเธนส์, 18 ธันวาคม ค.ศ. 1944.
วันที่3 ธันวาคม ค.ศ. 1944 – 11 มกราคม ค.ศ. 1945
(1 เดือน 1 สัปดาห์ 1 วัน)
สถานที่
ผล

ราชอาณาจักรกรีซชนะ

คู่สงคราม

ราชอาณาจักรกรีซ

ราชอาณาจักรกรีซ ΡΕΑΝ
ราชอาณาจักรกรีซ RAN
Organization X
Ex-members of the Security Battalions
EDES (in Epirus)
United Kingdom

กรีซ EAM

ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
กรีซ Archbishop Damaskinos
กรีซ Georgios Papandreou
กรีซ Nikolaos Plastiras
กรีซ Thrasyvoulos Tsakalotos
กรีซ Christodoulos Tsigantes
กรีซ Angelos Evert
Georgios Grivas
กรีซ Dionysios Papadongonas  
สหราชอาณาจักร วินสตัน เชอร์ชิล
สหราชอาณาจักร Ronald Scobie
สหราชอาณาจักร John Hawkesworth
กรีซ Georgios Siantos
กรีซ Manolis Mantakas
กรีซ Giannis Zevgos
กรีซ Grigoris Farakos
กรีซ Konstantinos Laggouranis
กำลัง
กรีซ 11,600
สหราชอาณาจักร 4,000-4,500
(since 12-16 Dec. 1944)
สหราชอาณาจักร 80,000-90,000
(since 18 Dec. 1944)
กรีซ 17,800
ความสูญเสีย
ราชอาณาจักรกรีซ 1,200 killed
สหราชอาณาจักร c. 210 killed
1,000 wounded
733 missing
กรีซ c. 2,000 killed
10,000-40,000 civilians killed by left-wing (including the period of retreat)[1]
c.2,000 civilians killed by right-wing[2]
แม่แบบ:Campaignbox Greek Civil War

ความที่่คาดไม่ถึงความตึงเครียดระหว่างฝ่ายซ้ายและฝ่ายขวาในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1944 มันเป็นเรื่องที่ได้ตกลงกันไว้ในการประชุมเลบานอนว่าฝ่ายที่ไม่ได้ให้ความร่วมมือทั้งหมดจะมีส่วนร่วมในรัฐบาลแห่งชาติ ท้ายที่สุดในวันที่ 6 ถึง 24 รัฐมนตรีได้รับการแต่งตั้งจากแนวร่วมปลดปล่อยชาติ ยิ่งไปกว่านั้นไม่กี่สัปดาห์ก่อนที่กองทัพเยอรมันจะถอนกำลังออกไป เมื่อเดือนตุลาคม ค.ศ. 1944 ได้มีการรับรองใหม่ในข้อตกลงเคเซอร์ตาว่ากองกำลังที่ให้ความร่วมมือทั้งหมดจะถูกขึ้นศาลและถูกลงโทษตามที่ได้กระทำเอาไว้ และกองกำลังฝ่ายต่อต้านทั้งหมดจะเข้าร่วมในการก่อตั้งกองทัพกรีกใหม่ ภายใต้บัญชาการของบริติช แต่ในวันที่ 1 ธันวาคม ผู้บัญชาการบริติช Ronald Scobie ได้ออกคำสั่งให้ปลดอาวุธแต่ฝ่ายเดียวต่อแนวร่วมปลดปล่อยชาติและกองทัพปลดปล่อยประชาชนชาวกรีซ รัฐมนตรีของฝ่าย EAM ได้ลาออก เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม และ EAM ได้เรียกร้องให้มีการชุมนุมในใจกลางกรุงเอเธนส์ในวันที่ 3 เพื่อเป็นการเรียกร้องให้ลงโทษทันทีต่อกองพันรักษาความปลอดภัยของฝ่ายที่ให้ความร่วมมือและให้ถอน"คำสั่ง Scobie" การชุมนุมของประชนชนกว่า 200,000 คน ได้ถูกยิงโดยตำรวจกรีกและกองกำลังตำรวจภูธร ได้มีผู้เสียชีิวิตโดยผู้ประท้วง 28 คนและบาดเจ็บ 148 คน การสังหารเหล่านี้ได้นำไปสู่การเผชิญหน้าทางอาวุธแบบเต็มรูปแบบระหว่างฝ่ายแนวร่วมปลดปล่อยชาติและกองกำลังของฝ่ายรัฐบาลในช่วงแรก(ซึ่งร่วมทั้งกองพันรักษาความปลอดภัย) และในช่วงที่สองครึ่งหลังเดือนธันวาคม ได้เข้าปะทะกับกองทหารบริติชที่อ่อนแรงเต็มที่

การปะทะกันนั้นได้จำกัดอยู่ที่กรุงเอเธนส์ ในขณะที่แห่งอื่นๆ ในกรีซ สถานการณ์ยังคงตึงเครียด แต่กลับเงียบสงบ ยกเว้นที่อิไพรัส เมื่อ Aris Velouchiotis ได้เข้าโจมตีต่อกองกำลังของ Napoleon Zervas

เดเคมเวียนาจบลงด้วยความปราชัยของฝ่ายแนวร่วมปลดปล่อยชาติ-กองทัพปลดปล่อยประชาชนชาวกรีซ นำไปสู่การปลดอาวุธในข้อตกลงวาร์กิซาซึ่งเป็นจุดสิ้นสุดของกองทัพปลดปล่อยประชาชนชาวกรีซ ความพ่ายแพ้ครั้งแรกนี้ได้ทำลายอำนาจของแนวร่วมปลดปล่อยชาติ พร้อมด้วยแนวร่วมปลดปล่อยชาติได้กระตุ้น"ความหวาดกลัวแดง" ตามมาด้วยช่วงเวลาของ "ความหวาดกลัวขาว" ปะทะกับฝ่ายซ้าย[4] ซึ่งมีส่วนทำให้เกิดการระบาดของสงครามกลางเมืองกรีซในปี ค.ศ. 1946 การปะทะของเดเคมเวียนาอยู่ท่ามกลางการสู้รบนองเลือดในประวัติศาสตร์กรีซยุคใหม่ ที่มีอัตราการเสียชีวิตของพลเรือนสูง

อ้างอิง

  1. Πόσοι σκοτώθηκαν στα Δεκεμβριανά
  2. Πόσοι σκοτώθηκαν στα Δεκεμβριανά
  3. Iatrides, John O. Revolt in Athens: The Greek Communist “Second Round” 1944–1945, Princeton University Press, 2015. ISBN 9780691619651
  4. Kostopoulos, Tasos (2016-12-11). "Η "συμμοριοποίηση" του κράτους" [The gang-ification of the state]. Η Εφημεριδα των Συντακτων (ภาษาGreek). Athens. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-12-11. สืบค้นเมื่อ 2016-12-11.{{cite news}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)