ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หมอก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
XXBlackburnXx (คุย | ส่วนร่วม)
Revert to revision 8629422 dated 2019-12-14 05:30:26 by JBot using popups
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Fog from plane.JPG|thumb|right|300px|หมอกปกคลุมเมือง[[ซานฟรานซิสโก]]]]
{{สภาพอากาศ}}
'''หมอก''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ =]]: fog) คือกลุ่มละอองน้ำที่ลอยตัวอยู่ในระดับต่ำเหนือพื้นดิน ซึ่งเมฆบางครั้งก็ถูกพิจารณาว่าเป็นส่วนหนึ่งของหมอก ตัวอย่างเช่น เมฆที่เคลื่อนตัวใน[[อากาศ]]ระดับสูงจะไม่ถูกพิจารณาว่าเป็นหมอก ขณะที่เมฆที่เคลื่อนตัวมาแบบสัมผัสกับพื้นดิน อาคาร หรือสิ่งก่อสร้างของมนุษย์ ที่มีความสูงขนาดหนึ่ง จะถูกพิจารณาว่าเป็นหมอกมากกว่าเมฆ ซึ่งหมอกแตกต่างจาก[[ละอองหมอก]] (mist) ก็เพียงเฉพาะความหนาแน่นเท่านั้น ผลกระทบของการเกิดหมอกที่เด่นชัดคือการทำให้ความสามารถในการมองเห็นลดลง หมอกปกติทั่วไปอาจลดความสามารถในการมองเห็นน้อยกว่า 1 [[กิโลเมตร]] ส่วนละอองหมอกจะลดความสามารถในการมองเห็นให้เหลือในระยะ 1–2 กิโลเมตร มาตรฐานการบินของ[[สหราชอาณาจักร]]กำหนดไว้ว่าประสิทธิภาพในการมองเห็นที่ระยะ 999 เมตรถึง 2 กิโลเมตร จะพิจารณาสภาพนั้นว่าเป็นละอองหมอก{{อ้างอิง}} นอกจากนี้ละอองหมอกจะต้องมีระดับ[[ความชื้นสัมพัทธ์]]ไม่ต่ำกว่า 95 เปอร์เซ็นต์หรือสูงกว่า หากมีความชื้นสัมพัทธ์น้อยกว่า 95 เปอร์เซ็นต์เราจะพิจารณาสภาพนั้นว่าเป็น[[ฟ้าหลัว]]
 
สถานที่ที่ซึ่งเกิดหมอกมากที่สุดในโลกคือ[[แกรนด์แบงค์]]นอกชายฝั่งของ[[เกาะนิวฟันด์แลนด์]] [[แคนาดา]] สถานที่ที่ซึ่ง[[กระแสน้ำเย็นแลบราดอร์]]จากทางเหนือมาบรรจบกับ[[กระแสน้ำอุ่นกัล์ฟสตรีม]]จากทางใต้ทำให้เกิดสภาวะหมอกมากที่สุดในโลก ส่วนสถานที่บนพื้นบกที่เกิดหมอกมากที่สุดในโลกได้แก่ [[เมโนโมนี รัฐวิสคอนซิน]], [[พอยน์ตเรย์ รัฐแคลิฟอร์เนีย]], [[อาร์เจนเทีย รัฐนิวฟันด์แลนด์และแลบราดอร์]] ทั้งหมดที่กล่าวมามีวันที่หมอกหนามากกว่า 200 วันต่อปี แม้แต่[[ยุโรปใต้]]ที่มีอากาศอุ่นกว่าส่วนอื่นก็สามารถพบหมอกหนาตามพื้นที่ราบต่ำและ[[หุบเขา]] เช่นที่ หุบเขาโปในอิตาลี หุบเขาตาม[[แม่น้ำอาร์โน]]และ[[แม่น้ำไทเบอร์]]ในอิตาลี และเช่นเดียวกับ[[ที่ราบสูงสวิส]]ในช่วงปลาย[[ฤดูใบไม้ร่วง]]และปลาย[[ฤดูหนาว]]
 
== ลักษณะที่ทำให้เกิดหมอก ==
หมอกก่อตัวขึ้นในสภาวะที่เกิดความแตกต่างกันของ[[อุณหภูมิ]]หรือ[[จุดน้ำค้าง]] (dew point) โดยทั่วไปในสภาพที่อุณหภูมิต่ำกว่า 2.5 [[องศาเซลเซียส]]หรือ 4 [[องศาฟาเรนไฮต์]] หมอกเริ่มก่อตัวด้วยการที่[[ไอน้ำ]]เกิด[[การควบแน่น]]ในอากาศ ซึ่งไอน้ำเหล่านั้นเกิดจา[[การระเหย]]ของ[[น้ำ]]หรือ[[การระเหิด]]ของ[[น้ำแข็ง]] ทำให้เกิดละอองน้ำมากมายในอากาศจนรวมตัวกันในรูปของหมอกหรือบางครั้งก็เป็นเมฆ
 
บรรทัด 26:
== สมุดภาพ ==
<gallery>
ไฟล์:GGB in fog 2007 edit.jpg|
ไฟล์:Crepuscular rays with reflection in GGP.jpg|
ไฟล์:Fog shadow of GGB.jpg|
ไฟล์:Fog shadow tv tower.jpg|
ไฟล์:Lienz SG8.JPG|
ไฟล์:Nebelostfriesland.jpg|
ไฟล์:San francisco in fog with rays.jpg
ไฟล์:View Point Khun Nan National Park 01.JPG|ทะเลหมอกใน[[อุทยานแห่งชาติขุนน่าน]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/หมอก"