ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เงือก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไตรศิระ (คุย | ส่วนร่วม)
ไตรศิระ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 35:
* มีเสียงไพเราะทำให้เดินตกน้ำได้ <ref name="เงือก">{{cite book|author=ขวัญนุช คำเมือง (แปล)|title=โลกเร้นลับของสิ่งมีชีวิต|publisher=นานมีบุ๊คส์ |year=มกราคม 2543|isbn=974-472-262-2}}</ref>
*บางชนิดมีขาอย่างมนุษย์ แต่มีหางเหมือนอย่างปลา เช่น ครอบครัวเงือกจากเรื่องพระอภัยมณี และมัจฉานุลูกหนุมานจากเรื่องรามเกียรติ์ เงือกที่มีรูปลักษณ์เช่นนี้ยังปรากฏอยู่ที่ภาพจิตรกรรมฝาผนังวิหารลายคำ วัดพระสิงห์ เรื่องสุวรรณหงส์ และตามสมุดภาพไตรภูมิพระร่วงอีกเล็กน้อย ในวรรณคีดเรื่อง พระอภัยมณี สุวรรณหงส์(สุวรรณหงส์ยนต์) ดาราวงศ์ และ โสวัตกลอนสวด เงือกชนิดที่มีขานี้ เรียกว่า '''"เงือกน้ำ"'''
*บางชนิดมีลักษณะน่ากลัว นิสัยดุร้าย ดวงตาเหลือกกลอกกลม เส้นผมยาวสยายและสามารถใช้เส้นผมของตนดึงมนุษย์ลงน้ำให้จมตายได้ และอาศัยอยู่แต่ในน้ำเท่านั้น เงือกชนิดนี้เรียกกันว่า '''"เงือกงู"''' ถูกกล่าวถึงสั้นๆในวรรณกรรมงานเขียนหลายเรื่องในอดีตหลายเรื่อง เช่น ลิลิตพระลอ พระอภัยมณี แก้วหน้าม้า อุณรุท ดาหลัง และ นิราศลอนดอน เป็นต้น ตามภาพจิตรกรรมมีเงือกชนิดนี้มักระบุว่า เงือกงูมีศีรษะและลำตัวท่อนบนคล้ายมนุษย์แต่ บ้างมีครีบปีกแทนแขนทั้ง๒ข้าง บ้างมีแขนเหมือนมนุษย์ทั่วไป ส่วนลำตัวท่อนล่างตั้งแต่ช่วงสะโพกลงมาจะเป็นหางเรียวยาวคล้ายงู ดูคล้ายเงือกของทางยุโรป เงือกงูปรากฏตามภาพจิตรกรรมและงานศิลป์อยู่ประปรายไม่แพร่หลาย
 
== ในยุโรป ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/เงือก"