ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนเซนต์คาเบรียล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17:
| เว็บไซต์ = http://www.sg.ac.th/
}}
'''โรงเรียนเซนต์คาเบรียล''' ({{lang-en|St. Gabriel's College}}) เป็นโรงเรียนเอกชนโรงเรียนชายล้วนขนาดใหญ่ ในเครือ[[คณะภราดาเซนต์คาเบรียล]] ซึ่งเป็น[[คณะนักบวชคาทอลิก]] ตั้งอยู่บน[[ถนนสามเสน]] แขวงวชิรพยาบาล [[เขตดุสิต]] [[กรุงเทพมหานคร]] เปิดสอนนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 คำว่า "เซนต์คาเบรียล" ในชื่อโรงเรียนนั้น จึงมาจากชื่อ[[คณะภราดาเซนต์คาเบรียล]] ผู้ก่อตั้งโรงเรียน โรงเรียนเซนต์คาเบรียลเป็นโรงเรียนที่เก่าแก่และมีชื่อเสียงแห่งหนึ่งในประเทศ เป็นที่ยอมรับในด้านคุณภาพการศึกษาโดยเฉพาะภาษาอังกฤษ และคุณภาพของนักเรียนและศิษย์เก่าที่จบไป
 
โรงเรียนเซนต์คาเบรียล [[โรงเรียนอัสสัมชัญลำปาง|เ]]ป็นเป็นหนึ่งในสองของโรงเรียนในเครือฯ ที่ใช้สีประจำสถาบันคือ [[น้ำเงิน]][[ขาว]] (อีกโรงเรียนหนึ่งที่ใช้สีน้ำเงินขาวคือ[[โรงเรียนอัสสัมชัญลำปาง]]) และมีเพียงวิทยาเขตเดียว เช่นเดียวกับ [[โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย]]และ[[โรงเรียนเซนต์หลุยส์]] ที่ไม่ได้ชื่อโรงเรียนว่า "[[อัสสัมชัญ]]" นำหน้า พรุ่งนี้โรงเรียนเซนต์คาเบรียลมีอายุได้ 100 ปี เป็นหนึ่งในโรงเรียนที่เก่าแก่ที่สุดในย่านดุสิต
 
== ประวัติของโรงเรียน ==
ภายหลังจาก[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] สงบลง [[โรงเรียนอัสสัมชัญ]]ได้ขยายตัวอย่างรวดเร็ว [[เจษฎาจารย์มาร์ติน เดอ ตูรส์]] และคณะที่ปรึกษา มีแนวความคิดที่จะเปิดโรงเรียนแห่งใหม่ในกรุงเทพฯ เพื่อรองรับการขยายตัวของโรงเรียนอัสสัมชัญ ประกอบกับท่านได้รับข้อเสนอ จากบาทหลวงบรัวซา อธิการ[[โบสถ์นักบุญฟรังซิสซาเวียร์]] <!-- (Reverend Father Brozat the Parish Priest of Saint Francis Xavier Church in Samsen) --> เสนอให้ที่ดินบริเวณถนนสามเสน เป็นสถานที่ก่อสร้าง
 
การขยายตัวมาเปิดโรงเรียนเซนต์คาเบรียล ในฐานะสาขาที่สองของ[[คณะภราดาเซนต์คาเบรียล]] มิได้เกิดขึ้นท่ามกลางสภาพบ้านเมืองปกติ แม้ว่าประเทศไทยจะอยู่ห่างจากสงครามครั้งนั้นมาก แต่ผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคม ทำให้วัสดุที่จำเป็นสำหรับการก่อสร้างขาดแคลน และมีราคาแพง ขณะที่แรงงานกรรมกรก็เป็นสิ่งหายากเช่นกัน
 
เจษฎาจารย์มาร์ตินจึงได้เริ่มดำเนินการก่อสร้างโรงเรียนเซนต์คาเบรียล ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1920 โดยท่านเป็นนายช่างสถาปนิกออกแบบให้คำปรึกษาเอง
บรรทัด 42:
 
== ตราประจำโรงเรียน ==
ตราประจำโรงเรียนใช้ตราของ[[คณะภราดาเซนต์คาเบรียล]] ซึ่งสถาบันการศึกษาในเครือคณะภราดาเซนต์คาเบรียลทั้งหมดใช้ตรานี้เป็นตราประจำสถาบันร่วมกัน ตรงกลางตราเป็นรูป[[โล่]]แบ่งสี่ซีก มีสัญลักษณ์ดังนี้
 
=== A.M. และ ช่อดอกซ่อนกลิ่นสีขาว ===
A.M. มาจากคำละตินว่า "Ave Marie" หมายถึง "วันทา [[พระนางวันทามารีย์พรหมจารี|มารี]]" มารดาของ[[พระเยซู]]คริสต์ หรืออีกนัยหนึ่ง A.M. หมายถึง "Alma Mater" หมายถึง "โรงเรียนแม่" — ส่วน[[ดอกซ่อนกลิ่น]] แสดงถึงความบริสุทธิ์ผุดผ่อง ที่นักเรียนทุกคนต้องพยายามทำตนให้เป็นผู้บริสุทธิ์ทั้งกาย วาจา และ ใจ อยู่เสมอไม่ว่าจะอยู่ที่ใดก็ตาม — ในส่วนนี้จึงมีความหมายรวมว่า โรงเรียนเปรียบเสมือนบ้านเกิดที่ทุกคนเป็นสมาชิกในครอบครัว มีพระนางมารีอาเป็นที่รักเคารพและบูชาร่วมกันไม่แยกแยะว่าใครมีหรือจน ความรักและความสุขที่มีต่อครอบครัว ต่อแม่ที่มีร่วมกันเป็นความบริสุทธิ์ทั้งกาย วาจา และใจเสมอ ไม่ว่าอยู่ ณ ที่แห่งใด
 
=== รูปเรือใบ และ ดาวเหนือเรือ ===
บรรทัด 56:
 
== สถานที่สำคัญ ==
# '''ตึกมาร์ติน เดอ ตูรส์''' หรือ '''ตึกแดง''' เป็นตึก 3 ชั้นเก่าแก่ที่สุด สร้างเมื่อ [[พ.ศ. 2463]] โดยท่าน[[เจษฎาจารย์มาร์ติน เดอ ตูรส์]] อธิการท่านแรกเป็นผู้ออกแบบก่อสร้างเองด้วยสถาปัตยกรรมแบบตะวันตก บัดนี้ได้กลายเป็นสัญลักษณ์ของโรงเรียนเซนต์คาเบรียลไปแล้ว ซึ่งได้รับการบูรณะและอนุรักษ์ไว้เพื่อเป็นอนุสรณ์แก่โรงเรียน ปัจจุบันใช้เป็นที่ทำการของหน่วยสนับสนุนการเรียนการสอน พิพิธภัณฑ์หุ่นขี้ผึ้ง ห้องเกียรติยศ และห้องประชุมแบบครบวงจร
# '''ตึก 90 ปี''' '''เซนต์คาเบรียล''' เป็นอาคาร 5 ชั้น สร้างเมื่อ [[พ.ศ. 2553]] เป็นห้องประชุมสัมมนา ห้องทำงาน[[ภราดาฟิลิป [[อำนวย ปิ่นรัตน์]]  ที่ทำงานฝ่ายบริหารอาคารสถานที่ ที่ทำงานสมาคมผู้ปกครองและครูฯ ห้องปฏิบัติงานพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนตามแนว[[มนุษยปรัชญา]] และศูนย์การเรียนร่วมของนักเรียนผู้พิการทางสายตา
# '''ตึกเดอ มงฟอร์ต''' เป็นอาคาร 4 ชั้น ชั้นล่าง และชั้นสองเป็นโรงอาหารนักเรียน และหอประชุม มีห้องสมุดกลาง พิพิธภัณฑ์ผีเสื้อและแมลงของ[[ภราดาฟิลิป อำนวย ปิ่นรัตน์]]  พิพิธภัณฑ์เปลือกหอย พิพิธภัณฑ์เรือจำลอง พิพิธภัณฑ์แร่และซากฟอสซิล ห้องเรียนและฝึกซ้อมศิลปะการแสดงนาฏศิลป์(โขน) ดนตรีไทย และดนตรีสากล
# '''ตึกจอห์น แมรี่''' เป็นอาคารที่พักของอาจารย์ชาวต่างชาติ มีประตูเชื่อมจากภายนอกโรงเรียน
# '''ตึกเกรก ยิมเนเซี่ยม''' เป็นตึก 5 ชั้น สร้างเมื่อ [[พ.ศ. 2514]] มีสนามบาสเกตบอลในร่มพร้อมอัฒจันทร์เชียร์ ชั้นบนใช้เป็นห้องเรียนชั้นประถมศีกษาปีที่ 5 และห้องกิจกรรมทางภาษาต่างประเทศ(ภาษาจีน) สนามเทนนิสและเป็นลานเอนกประสศ์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศีกษาปีที่ 5
# '''ตึกฟาติมา ร.ศ.200''' เป็นตึก 7 ชั้น สร้างเมื่อ [[พ.ศ. 2523]] เป็นอาคาร 7 ชั้น โดยอาคารหลังนี้ใช้เป็นห้องเรียนชั้น ป.1 - 2 และ ป.6 ทุกห้องติดเครื่องปรับอากาศ สนามเทนนิส และสนามบาสเกตบอล รวมทั้งห้องคอมพิวเตอร์ระดับประถม ห้องกิจกรรมภาษาอังกฤษ ห้องพยาบาลแผนกประถมศึกษา ดาดฟ้าชั้น 7 เดิมที่เป็นสนามเทนนิส ปัจจุบันปรับเป็นห้องกิจกรรมย่อย
# '''ตึกฮิวเบิร์ต เมโมเรียล''' สร้างเมื่อ [[พ.ศ. 2529]] เป็นอาคาร 4 ชั้น มีที่จอดรถครู สระว่ายน้ำ ศูนย์ภาษาต่างประเทศโรงเรียนเซนต์คาเบรียล ห้องสอบรวม และส่วนงานซ่อมบำรุงอาคารสถานที่ ( ที่ตั้งของสมาคมศิษย์เก่าเซนต์คาเบรียล)
# '''ตึกแอนดรูว์ เมโมเรียล 2000''' เป็นตึก 6 ชั้น สร้างเมื่อ [[พ.ศ. 2544]] ใช้เป็นสถานที่เรียนของระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 2 ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ห้องพยาบาลแผนกมัธยมศึกษา วัดโบสถ์น้อยประจำโรงเรียน และห้องพักคณะภราดา
# '''ตึกแม่พระ ''' สร้างเมื่อ [[พ.ศ. 2550]] เพื่อทดแทน'''ตึกแม่พระ'''หลังเดิม และ'''ตึกวิทยาศาสตร์''' ซึ่งทรุดโทรมลงตามกาลเวลา และหมดสภาพการใช้สอย เป็นอาคารเรียน 6 ชั้น รวมรวมชั้นใต้ดิน ภายนอกประดิษฐานรูปปั้นพระแม่มารีทรงแผ่พระหัตถ์ประทานพรงดงามมาก ภายในอาคารเป็นห้องเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 - 6 มีโรงยิมเนเซี่ยม ซึ่งมีสนามบาสเกตบอลในร่มขนาดมาตรฐาน โต๊ะกิจกรรมกีฬาปิงปอง และสระว่ายน้ำในร่มขนาดใหญ่สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา โถงชั้นใต้ดินสามารถใช้เข้าแถวและจัดกิจกรรมอื่นๆได้ มีห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ครบวงจร ห้องกิจกรรมทางภาษา ห้องออดิทอเรียม ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีของระดับชั้นมัธยมศึกษา ห้องแนะแนว ห้องปกครอง ห้องศิลปะ ห้องพลศึกษา และห้องปฏิบัติการส่งเสริมการคิด (Thinking lab)
# '''ตึก [[Annunciation]] '''หรือ '''ตึก[[แม่พระรับสาส์นสาร]]''' สร้างแล้วเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2555 เป็นสถานที่เรียนของระดับชั้นประถมศึกษาปีที่.3 - 4 ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ และห้องปฏิบัติธรรม (มี[[พระบรมสารีริกธาตุ]])
# '''สนามมาร์ติน เดอ ตูรส์ ''' สนามฟุตบอลหญ้าเทียมขนาดใหญ่ที่ใช้หญ้าเทียมคุณภาพสูง ล้อมสนามสองด้านด้วยอัฒจันทร์เชียร์ที่มีหลังคาผ้าใบเลื่อนเปิดปิดได้
 
บรรทัด 156:
 
== ศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียง ==
* พระคุณเจ้ายอแซฟ [[สังวาลย์ ศุระศรางค์]] (SG 5434) [[เขตมิสซังเชียงใหม่|มุขนายกมิสซังโรมันคาทอลิกเชียงใหม่]]
* [[พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร|พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร]]
* ภราดา[[ประทีป ม. โกมลมาศ|ภราดา มาร์ติน เดอ ตูร์ ดร. ประทีป โกมลมาศ]] fsg. [[คณะภราดาเซนต์คาเบรียล]] อธิการบดีกิตติคุณ [[มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ]]
* [[พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร|พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร]]
* [[ขวัญแก้ว วัชโรทัย]] (SG 2418) รองเลขาธิการพระราชวัง
* [[แก้วขวัญ วัชโรทัย]] (SG 2419) เลขาธิการพระราชวัง
* [[สุรยุทธ์ จุลานนท์|พลเอก [[สุรยุทธ์ จุลานนท์]] (SG 4925) อดีต[[ผู้บัญชาการทหารบก]], อดีต[[ผู้บัญชาการทหารสูงสุด]], [[องคมนตรี]], [[นายกรัฐมนตรี]]คนที่ 24
* ภราดา[[มีศักดิ์ ว่องประชานุกูล]] อดีตอธิการ[[โรงเรียนเซนต์คาเบรียล]], อดีตอธิการ[[โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี]], อดีตอธิการ[[โรงเรียนอัสสัมชัญลำปาง]], อดีตอธิการ[[โรงเรียนเซนต์หลุยส์]] ฉะเชิงเทรา , อดีตอธิการ[[โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย]] เชียงใหม่, อดีตอธิการ[[โรงเรียนอัสสัมชัญพาณิชยการ]]
* ศาสตราจารย์[[ระพี สาคริก|ศาสตราจารย์ระพี สาคริก]] ได้รับยกย่อง "[[บิดาแห่งกล้วยไม้ไทย]]", อดีต[[สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ]], ประธานจัด[[งานกล้วยไม้โลก]] , อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการ[[กระทรวงเกษตรและสหกรณ์]], อดีตอธิการบดี [[มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]], นายกสภา[[สถาบันอาศรมศิลป์]]คนแรกของสถาบันฯ และเป็นบุคคลผู้โดดเด่นจากการที่ได้รับพระราชทาน[[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อาทิตย์อุทัย]]ในตระกูล [[Order of the Rising Sun]] ชั้นสูงสุดจาก[[สมเด็จพระจักรพรรดิประเทศญี่ปุ่น]] ด้วยการใช้ชีวิตที่เรียบง่าย อดทน และพากเพียรและปวารณารับใช้สังคมตราบจนบั้นปลายชีวิต
* [[ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์|ศาสตราจารย์ ร้อยตำรวจเอก ดร.ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์]] (SG 7750) อดีตรองนายกรัฐมนตรี, อดีต[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย]], อดีตอธิการบดี[[สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์]]
* [[เรวัต พุทธินันทน์]] (SG 7018) ผู้ก่อตั้ง [[บริษัท แกรมมี่ เอนเตอร์เทนเม้นท์]] หรือ [[จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่]]
เส้น 167 ⟶ 169:
* [[ไสว พัฒโน]] อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย,อดีต[[รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย]],อดีต[[รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม]],อดีต[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา]] 8 สมัย
* [[กร ทัพพะรังสี]] (SG 5881) ร่วมก่อตั้งและอดีตหัวหน้า[[พรรคชาติพัฒนา]], อดีตรองนายกรัฐมนตรี, อดีต[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]], อดีต[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม]], อดีต[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข]], รัฐมนตรีช่วยว่าการ[[กระทรวงอุตสาหกรรม]], รัฐมนตรีช่วยว่าการ[[กระทรวงต่างประเทศ]]
* [[ปรีดิยาธร เทวกุล|ม.ร.ว.หม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุล]] (SG 6268) อดีตผู้ว่าการ[[ธนาคารแห่งประเทศไทย]], กรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์, อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี, อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการ[[กระทรวงพาณิชย์]] , อดีตรองนายกรัฐมนตรี, อดีต[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง]]
* [[สมัคร สุนทรเวช]] (SG 3657) หัวหน้าอดีต[[พรรคพลังประชาชน]], อดีต[[นายกรัฐมนตรี]]คนที่ 25
* พลเรือเอก [[ณรงค์ ยุทธวงศ์]] ร.น. อดีต[[ผู้บัญชาการทหารสูงสุด]], สมาชิก[[วุฒิสภา]]
เส้น 184 ⟶ 186:
* ศาสตราจารย์ [[วิโรจน์ เลาหพันธุ์]] คณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ
* ดร.[[รุ่งเรือง อิศรางกูร ณ อยุธยา]] อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
* ม.ร.ว.[[หม่อมราชวงศ์สฤษดิคุณ กิติยากร]]
* [[จุฑาธวัช อินทรสุขศรี]] สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
* [[ไชย ไชยวรรณ]] สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
เส้น 206 ⟶ 208:
* [[ธนชัย อุชชิน]] นักร้อง
* [[นภ พรชำนิ]] นักร้อง
* [[ธนา ลวสุต]] นักร้อง นักประพันธ์เพลง
* [[วรพันธุ์ คล้ามไพบูลย์]] กูรูและนักลงทุนบูติคโฮเตลและนักเขียน
* [[ธามไท แพลงศิลป์]] นักร้อง
เส้น 228 ⟶ 230:
'''หมายเหตุ''' ตัวอักษร SG หมายถึง หมายเลขประจำตัวโรงเรียนของผู้นั้น
 
<br />
 
== ศิษย์เก่าที่เป็นพระสงฆ์และนักบวช ==
 
* พระสังฆราชยอแซฟ สังวาลย์ ศุระศรางค์ (SG 5434) คณะสงฆ์พื้นเมือง อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ พระสังฆราชกิตติคุณ สังฆมณฑลเชียงใหม่
* [[ประทีป ม. โกมลมาศ|ภราดา มาร์ติน เดอ ตูร์ ดร. ประทีป โกมลมาศ]] fsg. [[คณะภราดาเซนต์คาเบรียล]] อธิการบดีกิตติคุณ [[มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ]]
* ภราดาสตีเฟน สุนัย กาญจนารัณย์ fsg. [[คณะภราดาเซนต์คาเบรียล]]
* ภราดาเฟลิกซ์ อำนวย ยุ่นประยงค์ fsg. [[คณะภราดาเซนต์คาเบรียล]]
* ภราดาไมเกิ้ล ทินรัตน์ คมกฤส fsg. [[คณะภราดาเซนต์คาเบรียล]]
* ภราดาฟรังซิสเซเวียร์ ทักษบุตร ไกรประสิทธิ์ fsg. คณะภราดาเซนต์คาเบรียล ผู้อำนวยการ[[โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม]]
* ภราดาเปโตร สยาม แก้วประสิทธิ์ fsg. [[คณะภราดาเซนต์คาเบรียล]]
* ภราดาเปโตร วินธกร ป้องศรี fsg. [[คณะภราดาเซนต์คาเบรียล]]
* บาทหลวงวินัย เปลี่ยนบำรุง C.Ss. (SG 12677) คณะรอยแผลศักดิ์สิทธิ์แห่งพระเยซูเจ้า อุปสังฆราช สังฆมณฑลเชียงราย
*บาทหลวงศักดิพัฒน์ กิจสกุล. C.Ss. (SG 17763) คณะรอยแผลศักดิ์สิทธิ์แห่งพระเยซูเจ้า
* บาทหลวงเปโตร ประชาชาติ ปรีชาวุฒิ (SG 15546) คณะสงฆ์พื้นเมือง อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ
* บาทหลวงเอมมานูแอล สหพล ตั้งถาวร (SG 15178) คณะสงฆ์พื้นเมือง อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ
* บาทหลวงเกรียงยศ ปิยะวัณโน sj. คณะสงฆ์แห่งพระเยซูเจ้า (เยสุอิต)
* บาทหลวงวินเซนต์ เอกพงษ์ พงษ์สูงเนิน (SG 8657) คณะสงฆ์พื้นเมือง อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ
* บาทหลวงโทมัส ศิริพจน์ สกุลทอง (SG 9824) คณะสงฆ์พื้นเมือง อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ
* บาทหลวงเปโตร สุทธิ ปุคะละนันท์ (SG 12372) คณะสงฆ์พื้นเมือง อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ
* บาทหลวงเปโตร สานิจ สถะวีระวงส์ คณะสงฆ์พื้นเมือง อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ
* บาทหลวงแอนโทนี ประเสริฐ สิทธิ (SG 9105) คณะสงฆ์พื้นเมือง สังฆมณฑลนครสวรรค์
*บาทหลวงกิตติศักดิ์ กาญจนธานินทร์ (SG 9056 คณะสงฆ์พื้นเมือง อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ
*บาทหลวงปรีชา นิยมธรรม o.m.i. (SG 7428) คณะธรรมทูตแห่งมารีนิรมล
 
<br />
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
เส้น 275 ⟶ 251:
{{โรงเรียนชายล้วน}}
{{สถานศึกษาในเขตดุสิต}}
{{เรียงลำดับ|เซนต์คาบเรียล}}
 
{{เรียงลำดับ|เซนต์คาบเรียล}}
[[หมวดหมู่:องค์การที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2463]]
[[หมวดหมู่:โรงเรียนคาทอลิกในเขตมิสซังกรุงเทพฯ]]
[[หมวดหมู่:โรงเรียนในเขตดุสิต]]