ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Oum13928 (คุย | ส่วนร่วม)
→‎เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย: อย่านำแม่แบบนี้ออก จนกว่าจะค้นหาประกาศราชกิจจานุเบกษา เรื่องถวายเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลนี้แด่พระองค์
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
ลบข้อมูลไม่มีอ้างอิง/คัดลอก
บรรทัด 159:
}}</ref>
 
ในวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 พระองค์ทรงประกอบพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสกับพลเอกหญิง [[สุทิดา วชิราลงกรณ์ ณ อยุธยา]] และมีพระราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สถาปนาขึ้นเป็น[[รายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทย|สมเด็จพระราชินี]]<ref>{{cite namejournal|journal="ราชกิจจานุเบกษา|volume=136|issue=11 ข|pages=1|title=พระราชโองการ ประกาศ เรื่อง สถาปนาสมเด็จพระราชินี"|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/B/011/T_0001.PDF|date=1 พฤษภาคม 2562|accessdate = 6 กุมภาพันธ์ 2563|language=ไทย}}</ref></ref><ref name="ราชาภิเษกสมรส">{{cite web |url= https://www.prachachat.net/royal-house/news-321764 |title= “ราชาภิเษกสมรส” ร. 10 และสมเด็จพระราชินีสุทิดา |author=|date= 1 พฤษภาคม 2562 |work=ประชาชาติธุรกิจ |publisher=|accessdate= 1 พฤษภาคม 2562}}</ref>
เมื่อวันที่ 4 พ.ค. 2562 ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกหลังจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระปฐมบรมราชโองการแล้ว ในวันที่ 5 พ.ค. 2562 มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ สถาปนาพระอิสริยยศ และเฉลิมพระนามพระบรมวงศานุวงศ์ในรัชกาลที่ 10{{ดูเพิ่มที่|รายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์#รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว}}
 
=== บรมราชาภิเษก ===
{{บทความหลัก|พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช 2562}}
พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ตั้ง[[พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช 2562|การพระราชพิธีบรมราชาภิเษก]] ในวันที่ 4–6 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ณ พระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร โดยทรงเฉลิมพระปรมาภิไธยตามที่จารึกในพระสุพรรณบัฏว่า "'''พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ มหิศรภูมิพลราชวรางกูร กิติสิริสมบูรณอดุลยเดช สยามินทราธิเบศรราชวโรดม บรมนาถบพิตร พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว'''" และมีพระปฐมบรมราชโองการความว่า "'''เราจะสืบสาน รักษา และต่อยอด และครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งอาณาราษฎรตลอดไป'''"<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/B/014/T_0001.PDF ประกาศพระปฐมบรมราชโองการในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒], 4 พฤษภาคม 2562</ref>
 
ตามโบราณราชประเพณี นับตั้งแต่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งการพระ ราชพิธีบรมราชาภิเษก ทุกภาคส่วน ต้องดำเนินการในพระราชพิธีบรม ราชาภิเษก ตามแบบโบราณราช ประเพณีให้ถูกต้อง ที่ทำกันมาตั้งแต่ ครั้งสมัยกรุงศรีอยุธยา แบ่งเป็น 3 ตอน หรือ 3 ช่วงเวลา ช่วงแรก...การเตรียมน้ำอภิเษก และน้ำสรงพระมุรธาภิเษก เพื่อนำมาใช้ในพระราช พิธีบรมราชาภิเษก ตามความหมาย ของคำว่า อภิเษกมาจากภาษา สันสกฤต แปลว่า การรดอันยิ่งใช้แต่งตั้งโดยการทำพิธีรดน้ำ ซึ่งเป็น ธรรมเนียมอินเดีย ต้องเป็นน้ำ ศักดิ์สิทธิ์จาก ปัญจมหานที คือ แม่น้ำใหญ่ 5 สาย มีในประเทศ อินเดีย คือ แม่น้ำคงคา แม่น้ำมหิ แม่น้ำยมนา แม่น้ำอจิรวดี และแม่น้ำ สรภู ที่ใช้น้ำศักดิ์สิทธิ์นี้เสมอมา แต่ ด้วยการเดินทางนี้ลำบาก บางครั้ง ต้องตุนเก็บน้ำไว้...ถึงเวลาใช้ก็เบิกมา ประกอบพระราชพิธีฯ ช่วงหลังนี้มี การอนุโลมแม่น้ำ 5 สายในประเทศ ไทยขึ้นแทนเรียกว่า เบญจสุทธคงคา ถูกใช้ประกอบพระราชพิธีฯหลายครั้ง และน้ำสำคัญใน 76 จังหวัด มีพิธีเสก น้ำพุทธมนต์ ที่วัดสุทัศนเทพวรารามช่วงที่สอง...พระราชพิธีบรม ราชาภิเษก ที่เกิดขึ้นในวันที่ 4 - 6 พฤษภาคม 2562 ประกอบด้วย อาทิ การถวายน้ำสรงพระมุรธาภิเษก พระ ราชพิธีเฉลิมพระสุพรรณบัฏ พระราช พิธีเฉลิมพระปรมาภิไธย พระนามาภิไธย และสถาปนาพระฐานันดรศักดิ์พระบรมวงศ์ ส่วนพระราชพิธีบรมราชาภิเษก เบื้องปลาย คือ เสด็จพระราชดำเนินเลียบพระนคร ตามโบราณราชประเพณี หมายถึง การชมเมือง และเป็นโอกาส ให้ประชาชนได้เข้าเฝ้าฯ ชื่นชมพระบารมี...สมัยโบราณ มี 2 ทาง คือ เสด็จพระราชดำเนินเลียบพระนคร ทางสถลมารค (ทางบก) และทาง ชลมารค (ทางน้ำ) และช่วงที่สาม... ในการเสด็จพระราชดำเนินเลียบพระ นครทางชลมารค ที่จะเกิดขึ้นในวันที่ 12 ธันวาคม 2562 นับเป็นครั้งแรก ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระว ชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว <ref>{{cite web |url = https://www.thairath.co.th/news/royal/1698015 | title= ชื่นชมพระบารมี ร.10 เสด็จฯ ทางชลมารค |author= ไทยรัฐฉบับพิมพ์ | date= 7 พ.ย. 2562| publisher= ไทยรัฐออนไลน์ }}</ref>
 
=== ศาสนูปถัมป์ภก ===
เส้น 304 ⟶ 303:
==== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย ====
พระองค์ทรงเป็นประธานของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ และได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จาก [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] ดังนี้
* พ.ศ. 2562 - [[ไฟล์:Order of the Rajamitrabhorn (Thailand) ribbon.svg|80px]] [[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นมงคลยิ่งราชมิตราภรณ์]] (ร.ม.ภ.){{อ้างอิง}}
{{ม.จ.ก.ฝ่ายหน้า|2508}}<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2508/D/111/12.PDF แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องขัตติยราชอิสริยากรณ์มหาจักรีบรมราชวงศ์], เล่ม ๘๒, ตอน ๑๑๑ ง ฉบับพิเศษ, ๒๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๐๘, หน้า ๑๒</ref>
{{น.ร.ฝ่ายหน้า|2516}}<ref name="นร">ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2516/D/010/18.PDF แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์], เล่ม ๙๐, ตอน ๑๐ ง ฉบับพิเศษ, ๒๖ มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๖, หน้า ๑๘</ref>
เส้น 598 ⟶ 596:
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[พระมหากษัตริย์ไทย]]
* [[รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย]]
* [[ราชสกุลวงศ์ในรัชกาลปัจจุบัน]]