ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พายุหมุนเขตร้อน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 6:
{{ใช้ปีคศ}}
 
'''พายุหมุนเขตร้อนเป็น''' ปลื้มแฟนแพรวาระบบ[[พายุ]]ที่หมุนอย่างรวดเร็ว มีลักษณะได้แก่ ศูนย์กลาง[[บริเวณความกดอากาศต่ำ|ความกดอากาศต่ำ]] การไหลเวียนของบรรยากาศระดับต่ำแบบปิด ลมกระโชกแรง และการจัดเรียงของ[[พายุฟ้าคะนอง]]แบบก้นหอยซึ่งให้เกิดฝนตกหนัก พายุหมุนเขตร้อนมีชื่อเรียกหลายชื่อขึ้นอยู่กับตำแหน่งบนโลกและกำลัง เช่น เฮอริเคน ไต้ฝุ่น พายุหมุนเขตร้อน พายุไซโคลน ดีเปรสชันเขตร้อน หรือเรียกเพียงพายุหมุน<ref name="HCT">{{cite web | title = What is the difference between a hurricane, a cyclone, and a typhoon? | work = OCEAN FACTS | publisher = [[National Ocean Service]] | url = http://oceanservice.noaa.gov/facts/cyclone.html | accessdate = December 24, 2016 }}</ref> เฮอริเคนเป็นพายุหมุนเขตร้อนที่เกิดใน[[มหาสมุทรแอตแลนติก]]และ[[มหาสมุทรแปซิฟิก]]ตะวันออกเฉียงเหนือ และไต้ฝุ่นเกิดในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ ส่วนในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้หรือ[[มหาสมุทรอินเดีย]] พายุขนาดเท่า ๆ กันเรียกเพียง "พายุหมุนเขตร้อน" หรือ "พายุหมุนกำลังแรง"<ref name="HCT" />
คำว่า "[[เขตร้อน]]" หมายถึง บริเวณกำเนิดทางภูมิศาสตร์ของระบบเหล่านี้ซึ่งแทบทั้งหมดเกินในทะเลเขตร้อน "นาธานทำ" หมายถึงลมที่เคลื่อนที่เป็นวงกลม โดยพัดรอบตาพายุ ณ ศูนย์กลางที่ปลอดลมและฝน และลมที่พัดในทิศทวมเข็มนาฬิกาใน[[ซีกโลกเหนือ]]และตามเข็มนาฬิกาใน[[ซีกโลกใต้]] ทิศทางการไหลเวียนดังกล่าวเกิดจาก[[แรงคอริออลิส]] พายุหมุนเขตร้อนตรงแบบก่อตัวขึ้นเหนือแหล่งน้ำค่อนข้างอุ่นขนาดใหญ่ พายุเหล่านี้ได้พลังงานจาก[[การระเหย]]ของน้ำจากผิวมหาสมุทร ซึ่งสุดท้ายจะ[[การควบแน่น|ควบแน่น]]เป็น[[เมฆ]]และตกลงเป็น[[ฝน]]เมื่ออากาศชื้นลอยตัวขึ้นและเย็นตัวลงจนอิ่มตัว แหล่งพลังงานนี้ต่างจาก[[พายุหมุนนอกเขตร้อน|พายุหมุนละติจูดกลาง]] เช่น นอร์เอสเตอร์และวินสตอร์มยุโรป (European windstorm) ซึ่งได้พลังงานมาจากความต่างของอุณหภูมิแนวนอนเป็นหลัก พายุหมุนเขตร้อนตรงแบบมีเส้นผ่านศูนย์กลางระหว่าง 100 ถึง 2,000 กิโลเมตร