ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
DMS WIKI (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 50:
|รัฐมนตรี10_ชื่อ =
|รัฐมนตรี10_ตำแหน่ง =
|หัวหน้า1_ชื่อ = [[สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา|สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา]]
|หัวหน้า1_ตำแหน่ง = องค์ประธานคณะที่ปรึกษาพิเศษ
|หัวหน้า2_ชื่อ = ศ. ดร. สุรศักดิ์ ลิขสิทธิ์วัฒนกุล
บรรทัด 56:
|หัวหน้า3_ชื่อ = [[ศาสตราจารย์พิเศษ]] [[ดร.]][[กิตติพงษ์ กิตยารักษ์]]
|หัวหน้า3_ตำแหน่ง = ผู้อำนวยการสถาบัน
|หัวหน้า4_ชื่อ = [[ดร.]]นัทธี จิตสว่าง
|หัวหน้า4_ตำแหน่ง = ที่ปรึกษาพิเศษสถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย
|หัวหน้า5_ชื่อ =เอกอัครราชทูตอดิศักดิ์ ภาณุพงศ์
|หัวหน้า5_ตำแหน่ง =ที่ปรึกษาพิเศษสถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย
|หัวหน้า6_ชื่อ =
|หัวหน้า6_ตำแหน่ง =
บรรทัด 97:
 
== ประวัติ ==
สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย ตั้งขึ้นมาจากโครงการ ELFI (enhancing lives of female inmates project) ในสังกัด[[สำนักงานกิจการยุติธรรม]] [[กระทรวงยุติธรรม]] ซึ่งเป็นโครงการในพระราชดำริของ[[สมเด็จพระเจ้าหลานเธอลูกเธอ พระองค์เจ้าเจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา]] นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา ซึ่งทรงเล็งเห็นถึงความสำคัญเกี่ยวกับความอ่อนไหวทางเพศชาย–หญิงของผู้ถูกคุมขังใน[[เรือนจำ]] พระองค์จึงได้ริเริ่มโครงการดังกล่าวขึ้นมาเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้ต้องขังหญิงในเรือนจำซึ่งกลุ่มผู้ต้องขังหญิงเปรียบเสมือนกลุ่มบุคคลที่ถูกลืมจากสังคมเนื่องจากมีจำนวนที่น้อย โดยพระองค์ภาได้ร่วมกับคณะผู้เชี่ยวชาญทางกฎหมาย และกลุ่มสิทธิมนุษยชนในการร่างกฎการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังหญิง และมาตรการที่มิใช่การคุมขังสำหรับผู้กระทำผิดหญิงขึ้น และในท้ายที่สุดพระองค์ได้ทรงผลักดันกฎการปฏิบัติกล่าวนี้จนประสบความสำเร็จ ก้าวขึ้นไปสู่เวทีระดับโลกและได้รับความยอมรับจากสหประชาติในชื่อที่เรียกว่า ข้อกำหนดกรุงเทพ (The Bangkok Rules)
 
นอกจากนี้ TIJ ยังได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติในฐานะหน่วยงานที่มีความเป็นเลิศด้านการวิจัยและมีศักยภาพด้านการป้องกันอาชญากรรม การพัฒนากระบวนการยุติธรรมทางอาญา และส่งเสริมหลักนิติธรรม โดยในวันที่ 24 พฤษภาคม 2559 สำนักงานว่าด้วยยาเสพติดและอาชญากรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Office on Drugs and Crime – UNODC) ได้รับรองสถานะให้ TIJ เป็นสถาบันเครือข่ายแผนงานสหประชาชาติด้านการป้องกันอาชญากรรมและความยุติธรรมทางอาญา (United Nations Programme Network Institutes – PNIs) โดยเป็นสถาบัน PNI ลำดับที่ 18 ของโลก และเป็นสถาบันแรกของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกของ PNI