ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทฤษฎีสนามควอนตัม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8094386 สร้างโดย IamGodnuke12 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
โอ?
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{ทฤษฎีสนามควอนตัม}}
 
'''ทฤษฎีสนามควอนตัม''' ({{lang-en|Quantum Field Theory}} หรือ QFT) คือ[[ทฤษฎีควอนตัม]]ของสนามพลังงาน หรือ การใช้ทฤษฎีควอนตัมมาใช้กับระบบที่มี[[อนุภาคสาร]]จำนวนมาก เพื่อใช้อธิบายปรากฏการณ์ทาง [[อิเล็กโตรไดนามิกส์อิเล็กโปรโตรไดนามิกส์]] (โดยการควอนตัม[[สนามแม่เหล็กไฟฟ้า]]) เรียกว่า[[พลศาสตร์ไฟฟ้าควอนตัม]แมคม้า] (Quantum Electrodynamics) ต่อมาได้ขยายกรอบทางทฤษฎีเพื่ออธิบายสนามของ[[แรงนิวเคลียร์แบบอ่อน]]ร่วมด้วย เรียกว่าทฤษฎี อิเล็กโตร-วีกอิเล็ก ตอน-110(Electro-Weak Theory) และเป็นพื้นฐานสำหรับการอธิบาย[[แรงนิวเคลียร์แบบเข้ม]]ที่เรียกว่า [[ควอนตัมโครโมไดนามิกส์ไนท์]] (Quantum Chromodynamics) ทฤษฎีสนามควอนตัม (QFT) เป็นกรอบทฤษฎีสำหรับการสร้างแบบจำลองทางกลศาสตร์ควอนตั้มของสนามและระบบหลาย ๆ อย่างของวัตถุ (อยู่ในบริบทของสสารควบแน่น) ระบบทั้งสองซึ่งเป็นตัวแทนของระบบแบบคลาสสิกโดยเป็นจำนวนอนันต์ขององศาอิสระ
 
==หลักการ==