ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมขุนอิศรานุรักษ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13:
}}
 
'''สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมขุนอิศรานุรักษ์'''<ref>{{cite web |url=http://bcnnon.ac.th/webnon/Load/2013/01/king22.pdf|title= ราชสกุลวงศ์|author=|date=|work= |publisher=กรมศิลปากร, สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์|accessdate=24 กุมภาพันธ์ 2557}}</ref> (9 มีนาคม พ.ศ. 2316 – 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2373) หรือพระนามเดิมว่า '''เกศเกด''' เป็นพระโอรสใน[[สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์]] กับ[[เงิน แซ่ตัน]] เป็นต้นราชสกุลอิศรางกูร ณ อยุธยา<ref>{{อ้างหนังสือ
| ผู้แต่ง = เล็ก พงษ์สมัครไทย
| ชื่อหนังสือ = พระญาติ ราชสกุลกรุงรัตนโกสินทร์
บรรทัด 36:
 
== พระประวัติ ==
สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมขุนอิศรานุรักษ์ มีพระนามเดิมว่า “เจ้าฟ้าเกศ”'''เกด''' ประสูติเมื่อวันพุธ เดือน 4 แรม 12 ค่ำ ปีมะเส็งเบญจศก จ.ศ. 1135 ตรงกับวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2316 ในสมัย[[อาณาจักรธนบุรี]] เป็นพระโอรสใน[[สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์]] กับ[[เงิน แซ่ตัน]] และเป็นพระราชนัดดาใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]]
 
เมื่อ[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]]เริ่มประดิษฐานพระราชวงศ์ใน พ.ศ. 2325 จึงโปรดตั้งเป็น''สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าเกด'' และในวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2349 (นับแบบปัจจุบันเป็น พ.ศ. 2450) จึงโปรดตั้งเป็น''เป็นกรมขุนอิศรานุรักษ์''<ref>[http://vajirayana.org/พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่-๑/๑๒๔-ตั้งพระบัณฑูรน้อย-และตั้งกรมเจ้านาย พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๑ : ๑๒๔. ตั้งพระบัณฑูรน้อย และตั้งกรมเจ้านาย]</ref>
พระองค์เป็นผู้สำเร็จราชการมหาดไทยในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] เป็นแม่ทัพยกไปรักษาเมือง[[พระตะบอง]] เมื่อ พ.ศ. 2358 มีฝีพระหัตถ์ในทางช่าง เช่น ทรงจำแบบอย่างเรีอรบญวนมาดัดแปลงเป็นเรือสำหรับใช้เดินทางไกล ทรงแต่งเก๋ง แต่งแพ สร้างสวนขวา พระประธานวัดรังษีสุทธาวาสในวัดบวรนิเวศ ได้รับพระราชทานวังที่ท่าเตียน<ref name=":0">"อิศรางกูร" ที่ระลึกงานพระราชทานเพลองศพ พลเรือตรี เอกไชย อิศรางกูร ณ อยุธยา. อังคารที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2534</ref> ตั้งแต่รัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] และประทับเรื่อยมาจนถืงรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
 
พระองค์เป็นผู้สำเร็จราชการมหาดไทยในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] โปรดให้เจ้าฟ้ากรมขุนอิศรานุรักษ์สำเร็จราชการมหาดไทย<ref>[http://vajirayana.org/พระราชพงษาวดาร-กรุงรัตนโกสินทร-รัชกาลที่-๒/๑๗-เรื่องให้เจ้านายกำกับราชการ พระราชพงษาวดาร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๒ : ๑๗. เรื่องให้เจ้านายกำกับราชการ]</ref> เป็นแม่ทัพยกไปรักษาเมือง[[พระตะบอง]] เมื่อ พ.ศ. 2358 และทรงปฏิสังขรณ์[[วัดกษัตราธิราชวรวิหาร]]ทั้งพระอาราม<ref>[http://vajirayana.org/พระราชพงษาวดาร-กรุงรัตนโกสินทร-รัชกาลที่-๒/๘๔-เหตุการณ์เบ็ดเตล็ดในรัชกาลที่-๒ พระราชพงษาวดาร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๒ : ๘๔. เหตุการณ์เบ็ดเตล็ดในรัชกาลที่ ๒]</ref> มีฝีพระหัตถ์ในทางช่าง เช่น ทรงจำแบบอย่างเรีอรบญวนมาดัดแปลงเป็นเรือสำหรับใช้เดินทางไกล ทรงแต่งเก๋ง แต่งแพ สร้างสวนขวา พระประธานวัดรังษีสุทธาวาสในวัดบวรนิเวศ ได้รับพระราชทานวังที่ท่าเตียน<ref name=":0">"อิศรางกูร" ที่ระลึกงานพระราชทานเพลองศพ พลเรือตรี เอกไชย อิศรางกูร ณ อยุธยา. อังคารที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2534</ref> ตั้งแต่รัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] และประทับเรื่อยมาจนถืงรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
 
สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมขุนอิศรานุรักษ์ ประชวรพระยอดที่พระปฤษฎางค์ สิ้นพระชนม์เมื่อวันศุกร์ เดือน 4 ขึ้น 7 ค่ำ ปีขาลโทศก จ.ศ. 1192 ตรงกับวันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2373 สิริพระชันษา 58 ปี ได้รับพระราชทานพระโกศทองใหญ่ทรงพระศพ และพระราชทานเพลิงพระศพที่พระเมรุท้องสนามหลวง
 
== พระโอรส-ธิดา ==
สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมขุนอิศรานุรักษ์ เสกสมรสกับสมเด็จเจ้าฟ้าปัญจปาปี หรือ คุณหม่อมปัญจปาปี พระราชธิดาใน[[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]] กับ[[กรมบริจาภักดีศรีสุดารักษ์]] มีพระโอรส-ธิดา 5 พระองค์ ได้แก่
* หม่อมเจ้าใหญ่ อิศรางกูร
* หม่อมเจ้ากลาง อิศรางกูร
เส้น 64 ⟶ 66:
* หม่อมเจ้าพรหมเมศร อิศรางกูร บางครั้งออกพระนามว่าหม่อมเจ้าถึก
* หม่อมเจ้าตุ้ม อิศรางกูร มีธิดา คือ
**[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ|หม่อมราชวงศ์หญิงเกษรสุมาลี อิศรางกูร]]
**[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ|หม่อมราชวงศ์หญิงนารีนพรัตน์ อิศรางกูร]]
* หม่อมเจ้าสนุ่น อิศรางกูร
* หม่อมเจ้าโสภณ อิศรางกูร เสกสมรสกับหม่อมอิ่ม อิศรางกูร ณ อยุธยา มีโอรสและธิดา 9 คน โดยโอรสและธิดาที่เป็นที่รู้จัก คือ
เส้น 139 ⟶ 141:
 
== อ้างอิง ==
; เชิงอรรถ
{{รายการอ้างอิง}}
; บรรณานุกรม
{{เริ่มอ้างอิง}}
* {{cite web|title=พระราชพงษาวดาร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๒|url=http://vajirayana.org/พระราชพงษาวดาร-กรุงรัตนโกสินทร-รัชกาลที่-๒|publisher=ห้องสมุดดิจิทัลวชิรญาณ|author=ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา|date=2459|accessdate=13 สิงหาคม 2561}}
* {{cite web|title=พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๑|url=http://vajirayana.org/พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่-๑|publisher=ห้องสมุดดิจิทัลวชิรญาณ|author=ทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค), เจ้าพระยา|date=11 สิงหาคม พ.ศ. 2531|accessdate=13 สิงหาคม พ.ศ. 2561}}
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = ศุภวัฒย์ เกษมศรี, พลตรี หม่อมราชวงศ์, และรัชนี ทรัพย์วิจิตร| ชื่อหนังสือ = พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้าในพระราชวงศ์จักรี
| URL = | จังหวัด = กรุงเทพ| พิมพ์ที่ = สำนักพิมพ์บรรณกิจ| ปี = พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2549| ISBN = 974-221-818-8| หน้า = | จำนวนหน้า = 360}}
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร| ชื่อหนังสือ = ราชสกุลวงศ์| URL = https://ia800501.us.archive.org/25/items/ThaiKings/Thai%20Kings.pdf| จังหวัด = พิมพ์ครั้งที่ 14, กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร| ปี = 2554 | ISBN = 978-974-417-594-6| จำนวนหน้า = 296| หน้า = 57}}
{{จบอ้างอิง}}
 
{{ต้นราชตระกูล}}
{{เจ้านายทรงกรม}}
{{เจ้านายทรงกรมสมัยกรุงรัตนโกสินทร์}}
 
{{เรียงลำดับ|อิศรานุรักษ์}}
{{อายุขัย|2316|2373}}
[[หมวดหมู่:รัชกาลที่ 1]]
[[หมวดหมู่:สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ]]
[[หมวดหมู่:เจ้าฟ้าชาย]]
[[หมวดหมู่:กรมขุน|อิศรานุรักษ์]]
[[หมวดหมู่:ราชสกุลอิศรางกูร| ]]