ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลอราเซแพม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
YiFeiBot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 1 langlinks, now provided by Wikidata on d:q408265
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับข้อมูลและสำนวน
บรรทัด 26:
| bioavailability = 85% เมื่อกิน
| metabolism = glucuronidation{{Efn-ua | name = glucuronidation}} (ผ่าน[[ตับ]])
| elimination_half-life = 10{{ndash}}nowrap |10-20 [[ชม.]]}}<ref>
{{Cite journal | last1 = Greenblatt | first1 = DJ | last2 = Shader | first2 = RI | last3 = Franke | first3 = K | last4 = Maclaughlin | first4 = DS | last5 = Harmatz | first5 = JS | last6 = Allen | first6 = MD | last7 = Werner | first7 = A | last8 = Woo | first8 = E | title = Pharmacokinetics and bioavailability of intravenous, intramuscular, and oral lorazepam in humans | journal = Journal of Pharmaceutical Sciences | year = 1991 | volume = 68 | issue = 1 | pages = 57-63 | pmid = 31453 | doi = 10.1002/jps.2600680119 }}</ref><ref>
{{Cite journal | last1 = Greenblatt | first1 = DJ | last2 = von Moltke | first2 = LL | last3 = Ehrenberg | first3 = BL | last4 = Harmatz | first4 = JS | last5 = Corbett | first5 = KE | last6 = Wallace | first6 = DW | last7 = Shader | first7 = RI | title = Kinetics and dynamics of lorazepam during and after continuous intravenous infusion | journal = Critical Care Medicine | volume = 28 | issue = 8 | pages = 2750-2757 | year = 2000 | pmid = 10966246 | doi = 10.1097/00003246-200008000-00011}}</ref><ref name="kineticracemization">
บรรทัด 83:
และการติดยาไม่ว่าเพราะเหตุกายหรือใจก็อาจเกิดได้ด้วย<ref name=AHSP2016/>
ถ้าหยุดยาอย่างกระทันหันหลังจากใช้เป็นเวลานาน อาจมีอาการขาดยาเบ็นโซไดอาเซพีน (benzodiazepine withdrawal syndrome)<ref name=AHSP2016/>
โดย[[คนชรา]]จะเกิดผลข้างเคียงบ่อยครั้งกว่า<ref name="Riss-2008">{{Cite journal | last1 = Riss | first1 = J | last2 = Cloyd | first2 = J | last3 = Gates | first3 = J | last4 = Collins | first4 = S | title = Benzodiazepines in epilepsy: pharmacology and pharmacokinetics | journal = Acta Neurologica Scandinavica | volume = 118 | issue = 2 | pages = 69-86 | year = 2008 | doi = 10.1111/j.1600-0404.2008.01004.x | pmid = 18384456 }}</ref>
ในคนกลุ่มนี้ ยาสัมพันธ์กับการหกล้มและกระดูกสะโพกหัก<ref name="Mets-2010">{{Cite journal | last1 = Mets | first1 = MA | last2 = Volkerts | first2 = ER | last3 = Olivier | first3 = B | last4 = Verster | first4 = JC | title = Effect of hypnotic drugs on body balance and standing steadiness | journal = Sleep Medicine Reviews | year = 2010 | volume = 14 | issue = 4 | pages = 259-267 | doi = 10.1016/j.smrv.2009.10.008 | pmid = 20171127 }}</ref>
เพราะเหตุนี้ ทั่วไปจึงแนะนำให้ใช้ยาอย่างมากเพียง {{nowrap |2-4 สัปดาห์}}<ref name=Altrx2007>{{cite web | url = http://www.accessdata.fda.gov/drugsatfda_docs/label/2007/017794s034s035lbl.pdf | title = Ativan (lorazepam) Tablets Rx only | date = March 2007 | publisher = Food and Drug Administration | quote = In general, benzodiazepines should be prescribed for short periods only (e.g. 2-4 weeks). Extension of the treatment period should not take place without reevaluation of the need for continued therapy. Continuous long-term use of product is not recommended. | deadurl = no | archiveurl = https://web.archive.org/web/20110917064143/http://www.accessdata.fda.gov/drugsatfda_docs/label/2007/017794s034s035lbl.pdf | archivedate = 2011-09-17 }}</ref>
บรรทัด 99:
=== โรควิตกกังวล ===
ยาใช้รักษา[[โรควิตกกังวล]]รุนแรงในระยะสั้น
ในสหรัฐ [[องค์การอาหารและยาสหรัฐ|องค์การอาหารและยา]]แนะนำไม่ให้ใช้ยากลุ่ม[[เบ็นโซไดอาเซพีน]]เช่นยานี้เกินกว่า {{nowrap |4 สัปดาห์}}<ref name=Altrx2007 /><ref>{{cite news | author = Rabin, RC | title = Disparities: Study Finds Risk in Off-Label Prescribing | url = https://www.nytimes.com/2009/08/25/health/research/25disp.html | newspaper = The New York Times | page = D6 | date = 2009-08-25 | deadurl = no | archiveurl = https://web.archive.org/web/20170219121327/http://www.nytimes.com/2009/08/25/health/research/25disp.html | archivedate = 2017-02-19 }}</ref>
มันออกฤทธิ์ได้เร็ว จึงมีประโยชน์ใช้รักษาอาการตื่นตระหนก (panic attack) ที่เกิดอย่างฉับพลัน<ref name="pmid6144459">{{Cite journal | author = Lader, M | title = Short-term versus long-term benzodiazepine therapy | journal = Current Medical Research and Opinion | year = 1984 | volume = 8 | issue = Suppl 4 | pages = 120-126 | pmid = 6144459 | doi = 10.1185/03007998409109550}}</ref>
 
ยามีประสิทธิผลลดภาวะกายใจไม่สงบแล้ว[[ยานอนหลับ|ช่วยให้นอนหลับ]]ได้ ช่วงเวลาที่ยามีผลทำให้เป็นตัวเลือกอันสมควรเพื่อรักษา[[การนอนไม่หลับ]] (insomnia) ในระยะสั้น
คือมันมีผลในระยะค่อนข้างสั้น<ref>{{Cite book | last1 = Aschenbrenner | first1 = Diane S. | author2 = Samantha J. Venable | date = 2009 | title = Drug Therapy in Nursing | edition = 3rd | url = https://books.google.com/books?id=5zd_W_PUwvYC | location = Philadelphia | page = [https://books.google.com/books?id=5zd_W_PUwvYC&pg=PA273#v=onepage&q&f=false 273] | publisher = Wolters Kluwer Health/Lippincott Williams & Wilkins | isbn = 978-0-7817-6587-9 | oclc = 173659630 | deadurl = no | archiveurl = https://web.archive.org/web/20160419091521/https://books.google.com/books?id=5zd_W_PUwvYC | archivedate = 2016-04-19 }}</ref>
 
บรรทัด 110:
[[ไดแอซิแพม]]หรือลอราเซแพมที่ให้ทางเส้นเลือดดำเป็นวิธีการักษาอันดับแรกสำหรับ[[ภาวะชักต่อเนื่อง]] (status epilepticus)<ref name="Walker-2005">{{Cite journal | author = Walker, M | title = Status epilepticus: an evidence based guide | journal = BMJ | year = 2005 | volume = 331 | issue = 7518 | pages = 673-677 | doi = 10.1136/bmj.331.7518.673 | pmc = 1226249 | pmid = 16179702 }}</ref><ref name="Walker-2005" />
ยานี้มีประสิทธิผลมากกว่าไดแอซิแพม มากกว่าแม้[[เฟนิโทอิน]]ที่ให้ทางเส้นเลือดเพื่อรักษาภาวะชักต่อเนื่องด้วย และเสี่ยงน้อยกว่าต่อการชักต่อที่จำเป็นต้องให้ยาต่อไปอีก<ref>{{Cite journal | last = Prasad | first = Manya | last2 = Krishnan | first2 = Pudukode R. | last3 = Sequeira | first3 = Reginald | last4 = Al-Roomi | first4 = Khaldoon | date = 2014-09-10 | title = Anticonvulsant therapy for status epilepticus | journal = The Cochrane Database of Systematic Reviews | issue = 9 | pages = CD003723 | doi = 10.1002/14651858.CD003723.pub3 | issn = 1469-493X | pmid = 25207925}}</ref>
อย่างไรกด็ดีก็ดี phenobarbital ก็ยังมีประสิทธิผลดีกว่ายานี้และยาอื่น ๆ อย่างน้อยก็ใน[[คนชรา]]<ref name="Treiman-2006">
{{Cite journal | last1 = Treiman | first1 = DM | last2 = Walker | first2 = MC | title = Treatment of seizure emergencies: convulsive and non-convulsive status epilepticus | journal = Epilepsy Research | year = 2006 | volume = 68 | issue = Suppl 1 | pages = S77-S82 | doi = 10.1016/j.eplepsyres.2005.07.020 | pmid = 16384688 }}</ref><ref name="Treiman-2007">
{{Cite book | author = Treiman, DM | title = The Neurobiology of Epilepsy and Aging | chapter = Treatment of convulsive status epilepticus | year = 2007 | volume = 81 | pages = [https://archive.org/details/neurobiologyofep0000rams/page/273 273-285] | doi = 10.1016/S0074-7742(06)81018-4 | pmid = 17433931 | isbn = 978-0-12-374018-2 | series = International Review of Neurobiology | url = https://archive.org/details/neurobiologyofep0000rams/page/273 }}</ref>
 
[[ยากันชัก|ฤทธิ์ต้านการชัก]]และคุณสมบัติทาง[[เภสัชจลนศาสตร์]]ของยา ทำให้การให้ยาทางเส้นเลือดดำไว้วางใจได้เพื่อหยุดการชักในปัจจุบัน แต่ก็[[ระงับประสาท]]อยู่นาน
เบ็นโซไดอาเซพีนที่กิน รวมทั้งลอราเซแพม บางครั้งคราวใช้ป้องกันการชักแบบ absence seizure (หมดสติสั้น ๆ แล้วกลับคืนสติ ทั่วไปไม่ได้ตามด้วยภาวะง่วงงุน) ในระยะยาวที่รักษายาก
แต่เพราะการชินยาที่ค่อย ๆ เพิ่มขึ้น เบ็นโซไดอาเซพีนเช่นยานี้จึงไม่จัดเป็นการรักษาอันดับแรก<ref>{{Cite journal | last1 = Isojärvi | first1 = JI | last2 = Tokola | first2 = RA | title = Benzodiazepines in the treatment of epilepsy in people with intellectual disability | journal = Journal of Intellectual Disability Research | year = 1998 | volume = 42 | issue = 1 | pages = 80-92 | pmid = 10030438 }}</ref>
บรรทัด 122:
 
=== การระงับประสาท ===
ยาบางครั้งใช้[[ระงับประสาท]] (sedation) สำหรับคนไข้ที่ต้องใช้[[เครื่องช่วยหายใจ]]
แต่สำหรับคนไข้ที่ป่วยหนักอย่างวิกฤติ [[โปรโพฟอล]]จะดีกว่าทั้งโดยประสิทธิผลและโดยค่าใช้จ่ายรวม ๆ
ดังนั้น อาการนี้ปัจจุบันจึงบ่งให้ใช้ยาโปรโพฟอล และไม่แนะนำลอราเซแพม<ref name="Cox-2008">{{Cite journal | last1 = Cox | first1 = CE | last2 = Reed | first2 = SD | last3 = Govert | first3 = JA | last4 = Rodgers | first4 = JE | last5 = Campbell-Bright | first5 = S | last6 = Kress | first6 = JP | last7 = Carson | first7 = SS | title = An Economic Evaluation of Propofol and Lorazepam for Critically Ill Patients Undergoing Mechanical Ventilation | journal = Critical Care Medicine | year = 2008 | volume = 36 | issue = 3 | pages = 706-714 | doi = 10.1097/CCM.0B013E3181544248 | pmc = 2763279 | pmid = 18176312 }}</ref>
บรรทัด 143:
อนึ่ง ผลที่ไม่ต้องการเช่น การเสียการยับยั้งใจ อาจทำให้ยากลุ่มเบ็นโซไดอาเซพีนไม่เหมาะกับคนไข้ที่กำลังมี[[อาการโรคจิต]]<ref name= Gillies-2005>{{Cite journal | last1 = Gillies | first1 = D | last2 = Beck | first2 = A | last3 = McCloud | first3 = A | last4 = Rathbone | first4 = J | title = Benzodiazepines alone or in combination with antipsychotic drugs for acute psychosis | journal = Cochrane Database of Systematic Reviews | year = 2005 | volume = 2005 | issue = 4 | pages = CD003079 | doi = 10.1002/14651858.CD003079.pub2 | pmid = 16235313 }}</ref>
[[อาการเพ้อ]]ที่กำลังเป็นบางครั้งก็รักษาด้วยยา แต่เพราะมันอาจก่อปฏิกิริยาปฏิทรรศน์ (paradoxical effect) จึงมักให้พร้อมกับ haloperidol (เป็นยารักษาโรคจิตในแบบ)<ref name= pmid9469682>{{Cite journal | last1 = Bieniek | first1 = SA | last2 = Ownby | first2 = RL | last3 = Penalver | first3 = A | last4 = Dominguez | first4 = RA | title = A double-blind study of lorazepam versus the combination of haloperidol and lorazepam in managing agitation | journal = Pharmacotherapy | year = 1998 | volume = 18 | issue = 1 | pages = 57-62 | pmid = 9469682 | doi = 10.1002/j.1875-9114.1998.tb03827.x | doi-broken-date = 2019-08-19 }}</ref>
ยาดูดซึมค่อนข้างช้าถ้าฉีดเข้ากล้ามเนื้อ เป็นวิธีการให้ยาสามัญเมื่อต้องผูกมักผูกมัดคนไข้ไว้
 
=== อื่น ๆ ===
บรรทัด 151:
เพราะยาอาจก่อปฏิกิริยาปฏิทรรศน์ บางครั้งจึงให้พร้อมกับยา haloperidol (เป็นยารักษาโรคจิตในแบบ)<ref name="pmid9469682" /><ref name="pmid16956088">{{Cite journal | last1 = van Dalfsen | first1 = AN | last2 = van den Eede | first2 = F | last3 = van den Bossche | first3 = B | last4 = Sabbe | first4 = BG | title = (title in Dutch) | trans-title = Benzodiazepines in the treatment of catatonia | language = Dutch | journal = Tijdschrift voor Psychiatrie | year = 2006 | volume = 48 | issue = 3 | pages = 235-239 | pmid = 16956088 }}</ref>
 
ยาบางครั้งใช้ใน[[เคมีบำบัด]]นอกบวกกับยารักษาความคลื่นไส้และอาเจียน คือเพื่อรักษาความคลื่นไส้และอาเจียนที่แย่ลงเหตุจิตใจเพราะคิดว่าตนเองป่วย<ref name="pmid15888767">{{cite journal | last1 = Herrstedt | first1 = J | last2 = Aapro | first2 = MS | last3 = Roila | first3 = F | last4 = Kataja | first4 = VV | title = ESMO Minimum Clinical Recommendations for prophylaxis of chemotherapy-induced nausea and vomiting (NV) | journal = Annals of Oncology | volume = 16 | issue = Suppl 1 | pages = i77-i79 | year = 2005 | pmid = 15888767 | doi = 10.1093/annonc/mdi805 | url = http://annonc.oxfordjournals.org/cgi/reprint/16/suppl_1/i77.pdf | deadurl = no | archiveurl = https://web.archive.org/web/20080307080809/http://annonc.oxfordjournals.org/cgi/reprint/16/suppl_1/i77.pdf | archivedate = 2008-03-07 }}</ref>
มันยังใช้เป็นการรักษาเสริม (adjunct) ของอาการ cyclic vomiting syndrome<!--*** เริ่มเชิงอรรถ ***-->{{Efn-ua |
'''cyclic vomiting syndrome''' หรือ '''cyclical vomiting syndrome''' (CVS) เป็นอาการเรื้อรังที่มีเหตุไม่ชัดเจน มีอาการเป็น[[ความคลื่นไส้]] [[การอาเจียน]]ที่รุนแรง บางครั้งประกอบกับ[[ปวดท้อง]] [[ปวดหัว]] หรือ[[ไมเกรน]]
บรรทัด 168:
ถ้าใช้ยาเบ็นโซไดอาเซพีนเป็นระยะเวลายาว ก็จะไม่ชัดเจนว่าความพิกาารทางประชานจะกลับคืนสู่ปกติเมื่อเลิกยาหรือไม่
โดยความบกพร่องทางประชานจะคงยืนอย่างน้อย {{nowrap |6 เดือน}}หลังเลิกยา แต่อาจใช้เวลามากกว่านั้นเพื่อฟื้นสภาพ
ยาลอราเซแพมดูเหมือนจะมีผลร้ายต่อความจำมากกว่าเบ็นโซไดอาเซพีนชนิดอื่น ๆ
โดยมีผลต่อทั้ง[[ความจำชัดแจ้ง]] (explicit memory) และ[[ความจำโดยปริยาย]] (implicit memory)<ref name="Bishop, Curran 1998">
{{cite journal | last = Bishop | first = KI | author2 = Curran, HV | title = An investigation of the effects of benzodiazepine receptor ligands and of scopolamine on conceptual priming | journal = Psychopharmacology | date = December 1998 | volume = 140 | issue = 3 | pages = 345-53 | pmid = 9877014 | doi = 10.1007/s002130050775}}</ref><ref name="Bishop, Curran 1995">
บรรทัด 177:
ยาอาจก่อหรือทำ[[โรคซึมเศร้า]]ให้แย่ลง
ปฏิกิริยาปฏิทรรศน์ก็อาจเกิดด้วย เช่น ชักเพิ่มขึ้น หรือตื่นเต้นมากขึ้น
โดยมีโอกาสมากกว่าในคนบุคคลต่าง ๆ รวมทั้งคนชรา เด็ก ผู้มีประวัติติดแอลกอฮอล์ และผู้มีประวัติดุร้ายหรือมีปัญหากับความโกรธ<ref name="Riss-2008" />
ฤทธิ์ของยาขึ้นอยู่กับขนาด ยิ่งมาก ฤทธิ์ (รวมทั้งผลข้างเคียง) ก็ยิ่งมาก
การใช้ขนาดน้อยที่สุดเพื่อให้ได้ผลที่ต้องการจะลดความเสี่ยงต่อผลที่ไม่พึงประสงค์
ยาระงับประสาทและยานอนหลับ รวมทั้งยานี้ สัมพันธ์กับความเสี่ยงตายสูงขึ้น<ref>{{cite journal | last1 = Kripke | first1 = DF | title = Mortality Risk of Hypnotics: Strengths and Limits of Evidence | journal = Drug Safety | date = February 2016 | volume = 39 | issue = 2 | pages = 93-107 | doi = 10.1007/s40264-015-0362-0 | pmid = 26563222 | url = https://escholarship.org/content/qt08d9f3d5/qt08d9f3d5.pdf?t=nz1gjv }}</ref>
 
การระงับประสาท (กดการหายใจ ลดความดันเลือดเป็นต้น) เป็นผลข้างเคียงที่คนกินยารายงานบ่อยที่สุด
บรรทัด 196:
{{Cite journal | author = Goldney, RD | title = Paradoxical reaction to a new minor tranquilizer | journal = Medical Journal of Australia | year = 1977 | volume = 1 | issue = 5 | pages = 139-140 | pmid = 15198 }}</ref>
* การฆ่าตัวตาย - เบ็นโซไดอาเซพีนสัมพันธ์กับความเสี่ยงฆ่าตัวตายมากขึ้น อาจเป็นเพราะเสียการยับยั้งใจ<ref name=Doc2017/> โดยขนาดที่มากขึ้นดูจะเสี่ยงมากขึ้น
* ผลให้จำไม่ได้ - ในบรรดายากลุ่มเบ็นโซไดอาเซพีน ยานี้มีผลให้จำไม่ได้ค่อนข้างมาก<ref name="Hindmarch" /><ref name="pmid15483562">{{Cite journal | last1 = Izaute | first1 = M | last2 = Bacon | first2 = E | title = Specific effects of an amnesic drug: effect of lorazepam on study time allocation and on judgment of learning | journal = Neuropsychopharmacology | volume = 30 | issue = 1 | pages = 196-204 | year = 2005 | pmid = 15483562 | doi = 10.1038/sj.npp.1300564 }}
</ref> แต่ในที่สุดก็จะชินผลเช่นนี้เมื่อใช้ยาเป็นประจำ เพื่อเลี่ยงไม่ให้เสียความจำ (หรือระงับประสาทมากเกินไป) ขนาดยาที่ให้แต่ละวันเบื้องต้นไม่ควรเกิน 2&nbsp;มก. โดยยากินก่อนนอนก็เช่นกัน งานศึกษาการนอนหลับมีผู้เข้าร่วม {{nowrap |5 คน}}ได้รับยาลอราเซแพม 4&nbsp;มก. ตอนกลางคืน วันต่อมา คน {{nowrap |3 คน}}มีจุดโหว่หลายจุดสำหรับความจำในวันนั้น โดยผลหายไปโดยสิ้นเชิงหลังจากได้ยาเป็นเวลา {{nowrap |2-3 วัน}}<ref name="pmid6120058">{{Cite journal | last1 = Scharf | first1 = MB | last2 = Kales | first2 = A | last3 = Bixler | first3 = EO | last4 = Jacoby | first4 = JA | last5 = Schweitzer | first5 = PK | title = Lorazepam-efficacy, side-effects, and rebound phenomena | journal = Clinical Pharmacology and Therapeutics | year = 1982 | volume = 31 | issue = 2 | pages = 175-179 | pmid = 6120058 | doi = 10.1038/clpt.1982.27 }}
</ref> ผลต่อความจำไม่สามารถประมาณจากระดับการระงับประสาทเพราะฤทธิ์สองอย่างไม่สัมพันธ์กัน
บรรทัด 205:
ยาควรหลีกเลี่ยงในบุคคลต่อไปนี้คือ
* ผู้แพ้ยาหรือไวปฏิกิริยาต่อยา ไม่ว่าจะเป็นลอราเซแพม เบ็นโซไดอาเซพีนทุกชนิด หรือต่อองค์ประกอบของยากินหรือยาฉีด
* [[การหายใจล้มเหลว]] เพราะเบ็นโซไดอาเซพีนรวมทั้งยานี้ อาจกดการหายใจของระบบประสาทกลาง จึงเป็นข้อห้ามใช้สำหรับการหายใจล้มเหลวที่รุนแรง ตัวอย่างของการให้ยาอย่างไม่สมควรก็คือเพื่อคลายกังวลที่สัมพันธ์กับโรคหืดปัจจุบันที่ไม่ตอบสนองต่อยาพ่นหรือ[[สเตอรอยด์]] (acute severe asthma) ฤทธิ์คลายกังวลยังอาจมีผลลบต่อความพร้อมใจและสมรรถภาพในการพยายามหายใจ แต่ถ้าจำเป็นต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ อาจใช้ยาเพื่อระงับประสาทในะระดับลึก (deep sedation แต่ยังไม่ถึงสลบ)
* พิษจากสาร ยาอาจมีปฏิกิริยาแบบเสริมกับผลของแอลกอฮอล์ ยาเสพติด หรือสารที่มีฤทธิ์ต่อจิตประสาทอื่น ๆ และดังนั้น จึงไม่ควรให้กับคนเมาไม่ว่าจะเป็นเพราะแอลกอฮอล์หรือยา
* ภาวะกล้ามเนื้อเสียสหการ (ataxia) นี่เป็นอาการทางประสาท โดยแขนขาและตัวจะขยับอย่างสั่น ๆ และอย่างเงอะงะ เพราะกล้ามเนื้อต่าง ๆ ไม่ประสานงานโดยเห็นชัดที่สุดเมื่อยืนหรือเดิน นี่เป็นอาการคลาสสิกของการเมาเหล้า เบ็นโซไดอาเซพีนไม่ควรให้กับบุคคลที่มีภาวะกล้ามเนื้อเสียสหการอยู่แล้ว
บรรทัด 213:
* [[การตั้งครรภ์]]และการให้นมลูก ยานี้อยู่ในหมวดหมู่ D ของ[[องค์การอาหารและยาสหรัฐ]] ({{abbr |FDA| Food and Drug Administration }}) ซึ่งหมายความว่า ยาอาจเป็นอันตรายต่อทารกที่กำลังพัฒนาเมื่อกินในไตรมาศแรกของการตั้งครรภ์ หลักฐานยังสรุปไม่ได้ว่ายาที่กินในช่วงตั้งครรภ์ต้น ๆ มีผลเป็นเชาวน์ปัญญาที่ลดลง ปัญหาพัฒนาการทางประสาท สภาพวิรูปในโครงสร้างหัวใจและใบหน้า หรือสภาพวิรูปอื่นของเด็กเกิดใหม่บางคนหรือไม่ ยาที่ให้หญิงตั้งครรภ์ก่อนคลอดอาจก่อภาวะกล้ามเนื้อตึงตัวน้อย (hypotonia) ในทารก<ref>{{Cite journal | author = Kanto, JH | title = Use of benzodiazepines during pregnancy, labour and lactation, with particular reference to pharmacokinetic considerations | journal = Drugs | year = 1982 | volume = 23 | issue = 5 | pages = 354-380 | pmid = 6124415 | doi = 10.2165/00003495-198223050-00002 }}
</ref> หรือกดการหายใจแล้วทำให้ต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ การใช้ยาเป็นประจำในไตรมาศที่ 3 ช่วงตั้งครรภ์หลัง ๆ ทำให้ทารกเสี่ยงมีอาการขาดเบ็นโซไดอาเซพีน มีอาการเป็นภาวะกล้ามเนื้อตึงตัวน้อย ไม่ดูดนม หยุดหายใจ เขียวคล้ำ (cyanosis) และการตอบสนองทาง[[เมทาบอลิซึม]]ที่พิการต่อไข้หวัด ภาวะกล้ามเนื้อตึงตัวน้อยในทารกและอาการขาดยาเบ็นโซไดอาเซพีนในเด็กเกิดใหม่รายงานว่า คงยืนเป็นชั่วโมง ๆ จนถึงเป็นเดือน ๆ หลังคลอด<ref>{{Cite journal | author = McElhatton, PR | title = The effects of benzodiazepine use during pregnancy and lactation | journal = Reproductive Toxicology | year = 1994 | volume = 8 | issue = 6 | pages = 461-475 | pmid = 7881198 | doi = 10.1016/0890-6238(94)90029-9 }}
</ref> ยายังอาจยับยั้งกระบวนการ{{nowrap |เมแทลอลิซึมแทลอลิซึม}}ของ[[บิลิรูบิน]] (bilirubin glucuronidation<!--*** เริ่มเชิงอรรถ ***-->{{Efn-ua | name = glucuronidation |
กระบวนการ '''glucuronidation''' มักเกิดในกระบวนการเมแทบอ[[เมแทบอลิซึม]]ในร่างกายของสารต่าง ๆ รวมทั้งยา มลพิษ [[บิลิรูบิน]] แอนโดรเจน [[เอสโตรเจน]] มิเนราโลคอร์ติคอยด์ กลูโคคอร์ติคอยด์ ({{abbr |GCs| glucocorticoids }}) สารอนุพันธ์ของ[[กรดไขมัน]] เรตินอยด์ และกรดน้ำดี
โดยเกี่ยวข้องกับพันธะแบบ glycosidic (เป็น[[พันธะโคเวเลนต์]]ที่เชื่อม[[คาร์โบไฮเดรต]]กับอีกกลุ่มซึ่งอาจจะเป็นหรือไม่เป็นคาร์โบไฮเดรต)
}}<!--*** จบเชิงอรรถ ***-->) ของตับ ซึ่งก่อ[[ดีซ่าน]] (ตัวเหลืองตาเหลือง) ยายังพบว่าอยู่ในนมแม่ จึงต้องระวังเมื่อให้นมลูก
 
=== บุคคลในกลุ่มเฉพาะ ๆ ===
* เด็กและคนชรา - ความปลอดภัยและประสิทธิผลยังไม่ชัดเจนสำหรับเด็กอายุน้อยกว่า {{nowrap |18 ปี}}แต่ก็มักใช้ยารักษาอาการชัก ขนาดที่ใช้ต้องจำเพาะเฉพาะบุคคล โดยเฉพาะคนชราที่อ่อนแอและเสี่ยงต่อการระงับประสาทเกินมากกว่า การใช้รักษาในระยะยาวอาจทำให้ระบบ[[ประชาน]]/ความคิดบกพร่อง โดยเฉพาะในคนชรา และอาจฟื้นสภาพได้เพียงเป็นบางส่วนเท่านั้น คนชราย่อยสลายเบ็นโซไดอาเซพีนได้ช้ากว่าคนที่อ่อนวัยกว่า ไวต่อผลไม่พึงประสงค์ของเบ็นโซไดอาเซพีนมากกว่าแม้จะมีระดับในเลือดเท่ากัน อนึ่ง คนชรามักกินยาต่าง ๆ มากกว่าซึ่งอาจมีปฏิกิริยาหรือเพิ่มผลของเบ็นโซไดอาเซพีน เบ็นโซไดอาเซพีนรวมทั้งลอราเซแพมพบว่า เพิ่มความเสี่ยงหกล้มและกระดูกหักในคนชรา ดังนั้น ขนาดยาที่แนะนำสำหรับคนชราจะอยู่ที่ประมาณครึ่งหนึ่งของที่ให้กับบุคคลที่อายุน้อยกว่า และให้ใช้ไม่เกิน {{nowrap |2 อาทิตย์}}<ref name="Riss-2008" /><ref name="Authier-2009">{{Cite journal | last1 = Authier | first1 = N | last2 = Balayssac | first2 = D | last3 = Sautereau | first3 = M | last4 = Zangarelli | first4 = A | last5 = County | first5 = P | last6 = Somogyi | first6 = AA | last7 = Vennat | first7 = B | last8 = Llorca | first8 = PM | last9 = Eschalier | first9 = A | title = Benzodiazepine dependence: focus on withdrawal syndrome | journal = Annales Pharmaceutiques Françaises | year = 2009 | volume = 67 | issue = 6 | pages = 408-413 | doi = 10.1016/j.pharma.2009.07.001 | pmid = 19900604 }}
</ref> ยายังอาจกำจัดออกจากร่างกายได้ช้ากว่าในคนชรา ซึ่งอาจมีผลให้สะสมยา ทำให้ยามีผลมากขึ้น<ref name="Butler-2008">{{Cite journal | last1 = Butler | first1 = JM | last2 = Begg | first2 = EJ | title = Free drug metabolic clearance in elderly people | journal = Clinical Pharmacokinetics | year = 2008 | volume = 47 | issue = 5 | pages = 297-321 | doi = 10.2165/00003088-200847050-00002 | pmid = 18399712 }}
</ref> ลอราเซแพม โดยเหมือนกับเบ็นโซไดอาเซพีนและน็อนเบ็นโซไดอาเซพีน (nonbenzodiazepine) เป็นเหตุให้เสียดุลร่างกายและให้ยืนไม่เสถียรในบุคคลที่ตื่นขึ้นตอนกลางคืนหรือแม้แต่ตอนเช้า ดังนั้น จึงมีรายงานบ่อย ๆ ว่าล้มหรือกระดูกสะโพกหัก การกินร่วมกับแอลกอฮอล์ยังเพิ่มความพิการเช่นนี้ด้วย แต่ทานบ่อยเข้าก็จะชินต่อความพิการไปบ้าง<ref name="Mets-2010"/>
* [[ตับวาย|ตับ]]และ[[ไตวาย]] -ยานี้อาจปลอดภัยกว่าเบ็นโซไดอาเซพีนชนิดอื่น ๆ ในบุคคลที่ตับทำงานได้ไม่ดี โดยเหมือนกับยา oxazepam (เป็นเบ็นโซไดอาเซพีนอีกชนิดหนึ่ง) เพราะเมแทแทบอลิซึมไม่อาศัยกระบวนการออกซิเดชันในตับออกซิเดชั่นในตับ อาศัยแต่กระบวนการ glucuronidation{{Efn-ua | name = glucuronidation}} โดยกลายเป็น ลอราเซแพม-กลูคิวโรไนด์ (lorazepam-glucuronide) ดังนั้น ตับที่ทำงานได้ไม่สมบูรณ์ก็ไม่ทำให้สะสมยาจนเกิดผลที่ไม่พึงประสงค์<ref name="pmid8700792">{{Cite journal | author = Peppers, MP | title = Benzodiazepines for alcohol withdrawal in the elderly and in patients with liver disease | journal = Pharmacotherapy | year = 1996 | volume = 16 | issue = 1 | pages = 49-57 | pmid = 8700792 | doi = 10.1002/j.1875-9114.1996.tb02915.x | doi-broken-date = 2019-08-19 }}
</ref> เช่นเดียวกัน โรคไตก็มีผลน้อยมากต่อระดับลอราเซแพมในเลือด<ref name="Olkkola-2008" />
* การให้ยานำก่อนผ่าตัด - ในบางประเทศ การยินยอมให้รักษาของคนไข้หลังจากได้ยานำคือ ลอราเซแพม อาจถูกฟ้องยกเลิกได้ในภายหลัง แพทย์พยาบาลต้องใช้พยานที่ 3 เพื่อป้องกันจากถูกกล่าวหาว่าทำการผิด ๆ เมื่อกำลังรักษาด้วยยานี้ การกล่าวหาอาจเกิดเพราะคนไข้เสียความจำอย่างไม่สมบูรณ์ การเสียการยับยั้งใจ สมรรถภาพการรับรู้สถานการณ์อาศัยตัวช่วยที่แย่ลง การให้ยานำจะดีสุดสำหรับคนไข้ที่อยู่ใน รพ. เพราะมีผลตกค้างค่อนข้างนาน (รวมทั้งระงับประสาท ภาวะกล้ามเนื้อเสียสหการ ความดันเลือดต่ำ และการเสียความจำ) การให้ยานำจึงดีสุดสำหรับคนไข้ที่อยู่ใน รพ. คนไข้ไม่ควรให้กลับบ้านจาก รพ. ภายใน {{nowrap |24 ชม.}} หลังได้รับยานำคือ ลอราเซแพม นอกจากจะมีผู้คอยตามช่วยเหลือ คนไข้ไม่ควรขับรถ ทำงานกับเครื่องจักร หรือใช้แอลกอฮอล์ในช่วงนี้
* ผู้ที่ติดยาและแอลกอฮอล์ จะเสี่ยงใช้ลอราเซแพมอย่างผิด ๆ<ref name="Authier-2009" />
* [[ความผิดปกติทางจิต]]อื่น ๆ ที่เป็นร่วมกันก็จะเพิ่มความเสี่ยงการติดหรือผลปฏิทรรศน์ที่ไม่พึงประสงค์ของยา<ref name="Authier-2009" />
บรรทัด 240:
เพราะแม้การเพิ่มขนาดจะแก้การชินยาได้ แต่การชินยาในขนาดที่สูงขึ้นก็อาจเกิดขึ้นได้โดยผลข้างเคียงก็ยังอาจคงยืนต่อไปหรือแย่ลง
 
กลไกการชินยาเบ็นโซไดอาเซพีนเป็นเรื่องซับซ้อน อาจอาศัย[[การลดตัวลดหน่วยรับ]]กาบาเอ (GABA<sub>A</sub> receptor downregulation)<!--*** เริ่มเชิงอรรถ ***-->{{Efn-ua |,
การเปลี่ยนโครงสร้างหน่วยย่อยของตัว[[หน่วยรับ]] GABA<sub>A</sub>, กระบวนการ uncoupling<!--*** เริ่มเชิงอรรถ ***-->{{Efn-ua |
ในการสร้างผลผลิตของยีนใน[[สิ่งมีชีวิต]] '''การลดผลผลิตของยีน''' (downregulation) เป็นกระบวนการที่[[เซลล์]]ลดจำนวนองค์ประกอบของเซลล์ เช่น [[อาร์เอ็นเอ]]หรือ[[โปรตีน]] โดยเป็นการตอบสนองต่อ[[สิ่งเร้า]]ภายนอก
กระบวนการคู่กันก็คือการเพิ่มองค์ประกอบตามที่ว่าซึ่งเรียกว่า '''การเพิ่มผลผลิตของยีน''' (upregulation)
ตัวอย่างของการลดผลผลิตของยีนก็คือการลดจำนวน[[หน่วยรับ]]โมเลกุลหนึ่ง ๆ ของเซลล์ โมเลกุลเช่น[[ฮอร์โมน]]หรือ[[สารสื่อประสาท]] ซึ่งลดความไวการตอบสนองของเซลล์ต่อโมเลกุลนั้น ๆ
นี่เป็นตัวอย่างของกลไก[[ป้อนกลับเชิงลบ]]เฉพาะที่
}}<!--*** จบเชิงอรรถ ***-->,
การเปลี่ยนโครงสร้างหน่วยย่อยของตัวรับ GABA<sub>A</sub>, กระบวนการ uncoupling<!--*** เริ่มเชิงอรรถ ***-->{{Efn-ua |
ในประสาท-จิต-เภสัชวิทยา '''uncoupling''' หรือ '''decoupling''' เป็นกระบวนการที่จุดเชื่อมระหว่าง[[หน่วยรับ]] (receptor) กับ[[ลิแกนด์]] หรือโดเมนแยกออกจากกัน ปรับแนว หรือดึงเข้าในเซลล์โดยเป็นผลของการชินยาเนื่องจากการได้สารหรือพิษที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทเป็นระยะเวลานาน
}}<!--*** จบเชิงอรรถ ***-->
หรือการดูดจุดเชื่อมเบ็นโซไดอาเซพีนกับหน่วยรับ GABA<sub>A</sub> เข้าในเซลล์ และการเปลี่ยนแปลง[[การแสดงออกของยีน]]<ref name="Riss-2008" />
 
โอกาสติดลอราเซแพมค่อมค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับเบ็นโซไดอาเซพีนชนิดอื่น ๆ
เพราะมี[[ครึ่งชีวิต]]ในเลือดค่อนข้างสั้น อยู่จำกัดโดยหลักในเส้นเลือด และมี[[เมแทบอไลต์]]ที่ไม่ออกฤทธิ์ จึงอาจก่ออาการขาดยาแม้ในระหว่างมื้อยา ทำให้อยากยามื้อต่อไป จึงอาจ[[เสริมแรง]]การติดยาทางใจ
เพราะมีฤทธิ์แรง แม้ยาเม็ดเล็กสุดที่ขนาด 0.5&nbsp;มก. ก็ยังมีฤทธิ์อย่างสำคัญเพราะมีฤทธิ์แรง ประเทศที่ใช้ยาเม็ดเล็กสุดขนาด {{nowrap |1 มก.}} เช่นสหราชอาณาจัก[[สหราชอาณาจักร]] ก็จะจึงมีปัญหาเช่นนี้ติดยามากขึ้น
เพื่อลดความเสี่ยงการติดทั้งทางกายและใจ ควรใช้ยานี้ในระยะสั้น และในขนาดน้อยที่สุดซึ่งได้ผล
ไม่ว่าจะใช้แนะนำให้หยุดยาเบ็นโซไดอาเซพีนใด ๆ นที่ใช้ในระยะยาว แนะนำให้ค่อยไม่ว่าจะชนิดใดหยุดยาโดยให้ใช้เวลาเป็นอาทิตย์ ๆ เป็นเดือน ๆ หรือยาวนานกว่านั้น ตามขนาดและระยะที่ใช้ ตามระดับการติดและตามคนไข้
 
ลอราเซแพมที่ใช้ในระยะยาวอาจเลิกง่ายกว่าถ้าเปลี่ยนไปใช้ยา[[ไดแอซิแพม]]ในขนาดเดียวกันจนรู้สึกเสถียร อยู่ตัวแล้วค่อย ๆ ลดขนาดลง
ข้อดีของการลดขนาดไดแอซิแพมก็คือ เพราะมีครึ่งชีวิตยาวนานกว่า ({{nowrap |20-200 ชม.}}) และมีเมแทบอไลต์ที่ออกฤทธิ์ จึงจะรู้สึกขาดยาน้อยกว่า<ref>{{cite web | url = http://www.benzo.org.uk/ashvtaper.htm | title = Reasons for a diazepam (Valium) taper | author = Ashton, HC | date = April 2001 | access-date = 2007-06-01 | publisher = benzo.org.uk | archiveurl = https://web.archive.org/web/20191007151759/https://benzo.org.uk/ashvtaper.htm | archivedate = 2019-10-07 | deadurl = no }}</ref>
 
=== การขาดยา ===
เส้น 269 ⟶ 264:
อาการเกิดโรคอีก (rebound effect) มักเหมือนกับอาการที่กำลังรักษา แต่ปกติจะรุนแรงกว่าและอาจ[[การวินิจฉัยทางการแพทย์|วินิจฉัย]]ได้ยาก
อาการขาดยาอาจเริ่มตั้งแต่ความวิตกกังวลและการนอนไม่หลับเบา ๆ จนถึงอาการที่รุนแรงกว่า เช่น [[ชัก]]และ[[อาการโรคจิต]]
ในบรรดาปัจจัยต่าง ๆ ความเสี่ยงและความรุนแรงของการขาดยาจะเพิ่มขึ้นถ้าใช้ยาระระในระยะยาว ใช้ขนาดสูง การลดยาอย่างฉับพลันหรือเร็วเกิน ในบรรดาปัจจัยต่าง ๆ
{{nowrap |เบ็นโซไดอาเซพีน}}ที่มีฤทธิ์ระยะสั้น ๆ เช่น ลอราเซแพมมีโอกาสก่ออาการขาดยาที่รุนแรงกว่าเทียบกับยาที่มีฤทธิ์นาน<ref name="Riss-2008" />
อาการขาดยาสามารถเกิดได้แม้ใช้ในขนาดรักษาเพียงแค่อาทิตย์เดียว
อาการรวมทั้งปวดหัว, วิตกกังวล, เครียด, ซึมเศร้า, นอนไม่หลับ, อยู่ไม่เป็นสุข, สับสน, หงุดหงิด, เหงื่อออก, อารมณ์ละเหี่ย, เวียนหัว, derealization<!--*** เริ่มเชิงอรรถ ***-->{{Efn-ua | name = derealization |
เส้น 277 ⟶ 272:
มันเป็นอาการ[[ดิสโซสิเอทีฟ]]ของโรคหลายอย่าง
}}<!--*** จบเชิงอรรถ ***-->,
[[depersonalizationบุคลิกวิปลาศ]] (depersonization), ปลายนิ้วปลายแขนขาชา, ไวแสง เสียง กลิ่น, [[การรับรู้]]บิดเบือน, [[คลื่นไส้]], [[อาเจียน]], ไม่อยากอาหาร, [[ประสาทหลอน]], [[เพ้อ]], [[ชัก]], สั่น, [[ตะคริว]]ท้อง, [[ปวดกล้ามเนื้อ]], กายใจไม่สงบ, [[ใจสั่น]], [[หัวใจเต้นเร็ว]], ตื่นตระหนก (panic attack), เสีย[[ความจำระยะสั้น]] และ[[ไข้สูง]]
ร่างกายใช้เวลา {{nowrap |18-36 ชม.}} เพื่อกำจัดเบ็นโซไดอาเซพีนออก<ref>{{cite web | url = https://www.fda.gov/medwatch/safety/2007/Apr_PI/Ativan_PI.pdf | title = Ativan Labeling Revision | date = April 2007 | accessdate = 2007-10-03 | publisher = FDA | deadurl = no | archiveurl = https://web.archive.org/web/20080307080808/https://www.fda.gov/medwatch/safety/2007/Apr_PI/Ativan_PI.pdf | archive-date = 2008-03-07 }}</ref>
 
เส้น 284 ⟶ 279:
การกินผสมนี้ยังเพิ่มฤทธิ์ให้เสียการยับยั้งชั่งใจและเสียความจำ จึงอาจทำเรื่องอับอายหรืออาชญากรรม
นักวิชาการบางพวกแนะนำให้เตือนคนไข้ไม่ให้ดื่มแอลกฮอล์เมื่อกำลังรักษาด้วยยา<ref name="Hindmarch" /><ref name="PI">{{cite web | publisher = Genus Pharmaceuticals | title = Lorazepam: Patient Information Leaflet, UK, 1998 | url = http://www.benzo.org.uk/lorazepam.htm | date = 1998-01-21 | accessdate = 2007-05-14 }}</ref>
แต่การเตือนแบบโต้งตรงอย่างเช่นนี้ก็ไม่ได้ทำอย่างทั่วไป<ref>{{cite web | url = http://www.patient.co.uk/showdoc/30002635 | title = Lorazepam | publisher = Patient UK | date = 2006-10-25 | accessdate = 2007-05-14 | deadurl = no | archiveurl = https://web.archive.org/web/20070927173700/http://www.patient.co.uk/showdoc/30002635 | archivedate = 2007-09-27 }}</ref>
 
ผลไม่พึงประสงค์อาจรุนแรงขึ้นเมื่อใช้กับยาอื่น ๆ เช่น [[โอปิออยด์]]หรือ[[ยานอนหลับ]]อื่น ๆ<ref name="Olkkola-2008" />
ยาอาจมีปฏิกิริยากับยา rifabutin<ref name="Baciewicz-2008">{{Cite journal | last1 = Baciewicz | first1 = AM | last2 = Chrisman | first2 = CR | last3 = Finch | first3 = CK | last4 = Self | first4 = TH | title = Update on rifampin and rifabutin drug interactions | journal = American Journal of the Medical Sciences | year = 2008 | volume = 335 | issue = 2 | pages = 126-136 | doi = 10.1097/MAJ.0b013e31814a586a | pmid = 18277121 }}</ref> (เป็นยาปฏิชีวนะปกติใช้รักษา[[วัณโรค]]และการติดเชื้อ Mycobacterium avium complex)
ยา valproate (โดยหลักใช้รักษา[[โรคลมชัก]] [[โรคอารมณ์สองขั้ว]] และป้องกัน[[ไมเกรน]]) ยับยั้ง[[เมแทบอลิซึม]]ของลอราเซแพม เทียบกับ[[คาร์บามาเซพีน]], lamotrigine (ใช้รักษาโรคลมชักและโรคอารมณ์สองขั้ว), phenobarbital (ใช้รักษาโรคลมชัก), [[เฟนิโทอิน]] และ rifampin (เป็นยาปฏิชีวนะที่ใช้รักษาการติดเชื้อโรคมีวัณโรคเป็นต้น) ที่เพิ่มเมแทบอลิซึมของมัน
ยาต่าง ๆ เช่น [[ยาแก้ซึมเศร้า]]บางอย่าง [[ยาแก้ชัก]]เช่น phenobarbital, [[เฟนิโทอิน]] และ[[คาร์บามาเซพีน]] [[ยาต้านฮิสตามีน]]ที่มีฤทธิ์ระงับประสาท [[โอปิแอต]] [[ยารักษาโรคจิต]]และ[[แอลกอฮอล์]] ซึ่งล้วนเมื่อกินร่วมกับลอราเซแพมอาจมีผลระงับประสาทเพิ่มขึ้น<ref name="Riss-2008" />
 
=== ยาเกินขนาด ===
เส้น 310 ⟶ 305:
 
=== การตรวจจับในร่างกาย ===
ลอราเซแพมสามารถวัดได้ใน[[เลือด]]หรือ[[น้ำเลือด]]เพื่อยืนยันความเป็นพิษในคนไข้ใน รพ. หรือเป็นหลักฐานเพื่อจับว่าขับรถเมื่อเมา หรือเพื่อช่วยชัณสูตรศพ[[ชันสูตรศพ]]
ความเข้มข้นในเลือดปกติมีพิสัย {{nowrap |10-300 [[ไมโครกรัม]]/[[ลิตร]]}}สำหรับบุคคลที่ได้ยาเพื่อรักษาหรือสำหรับบุคคลที่ถูกจับว่าขับรถเมื่อเมา
พิสัย {{nowrap |300-1,000 [[ไมโครกรัม]]/[[ลิตร]]}} จะพบในคนไข้ที่ได้ยาเกิน<ref>{{cite book | author = Baselt, R | title = Disposition of Toxic Drugs and Chemicals in Man | edition = 8th | publisher = Biomedical Publications | location = Foster City, CA | year = 2008 | pages = 860-862 }}</ref>
เส้น 319 ⟶ 314:
== เภสัชวิทยา ==
ยามีฤทธิ์คลายกังวล ฤทธิ์ระงับประสาท ฤทธิ์ยานอนหลับ ฤทธิ์ให้จำไม่ได้ ฤทธิ์ต้านการชัก และฤทธิ์คลายกล้ามเนื้อ<ref name="Mandrioli-2008">{{Cite journal | last1 = Mandrioli | first1 = R | last2 = Mercolini | first2 = L | last3 = Raggi | first3 = MA | title = Benzodiazepine metabolism: an analytical perspective | journal = Current Drug Metabolism | year = 2008 | volume = 9 | issue = 8 | pages = 827-844 | doi = 10.2174/138920008786049258 | pmid = 18855614 | url = https://zenodo.org/record/1067769 }}</ref>
เป็นยาเบ็นโซไดอาเซพีนมีฤทธิ์แรง ออกฤทธิ์เร็วปานกลาง ความพิเศษ<ref>
{{cite journal | last1 = Pompéia | first1 = S | last2 = Manzano | first2 = GM | last3 = Tufik | first3 = S | last4 = Bueno | first4 = OF | title = What makes lorazepam different from other benzodiazepines? | journal = Journal of Physiology | volume = 569 | issue = Pt 2 | pages = 709; author reply 710 | year = 2005 | pmid = 16322061 | pmc = 1464231 | doi = 10.1113/jphysiol.2005.569005 }}</ref><ref>
{{Cite journal | author = Chouinard, G | title = Issues in the clinical use of benzodiazepines: potency, withdrawal, and rebound | journal = Journal of Clinical Psychiatry | year = 2004 | volume = 65 | issue = Suppl 5 | pages = 7-12 | pmid = 15078112 | url = http://article.psychiatrist.com/?ContentType=START&ID=10000770 }}</ref>,
เส้น 338 ⟶ 333:
ความเข้มข้นในน้ำเลือดของยาขึ้นอยู่กับขนาดยาที่ให้
ไม่มีหลักฐานจนกระทั่งถึง {{nowrap |6 เดือน}}จากเริ่มให้ว่า ยาสะสมในร่างกาย
เทียบกับไดแอซิแพมซึ่งสะสม เพราะมีครึ่งชีวิตที่ยาวนานกว่าและมีเมแทบอไลต์ที่ออกฤทธิ์ {{nowrap |เมแทบอไลต์}}ยังมีครึ่งชีวิตที่ยาวนานอีกด้วย
 
:'''ตัวอย่างจากคลินิก:''' ไดแอซิแพมเป็นยาที่มักลือกใช้รักษา[[ภาวะชักต่อเนื่อง]] เพราะละลายในลิพิดได้ดี จึงดูดซึมเข้าร่างกายได้เร็วเท่ากันไม่ว่าจะให้ทางปากหรือทางทวารหนัก (เพราะนอก รพ. การให้ยานอกเหนือจากทางเส้นเลือดจะดำจะสะดวกกว่า) แต่ก็เพราะละลายในลิพิดได้ดี มันจึงไม่อยู่ในเส้นเลือดนานแล้วกระจายไปยังเนื้อเยื่อร่างกายอื่น ๆ ดังนั้น จึงอาจจำเป็นต้องให้{{nowrap |ไดแอซิแพม}}อีกเพื่อให้ออกฤทธิ์ต้านการชักได้สูงสุด ทำให้สะสมในร่างกาย ส่วนลอราเซแพมไม่เป็นอย่างนี้ เพราะละลายในลิพิดได้ไม่ดี มันจึงดูดซึมเข้าร่างกายได้ช้ายกเว้นทางเส้นเลือดดำ แต่เมื่อเข้าไปในเส้นเลือดแล้ว มันจะไม่กระจายไปยังร่างกายส่วนอื่น ๆ ดังนั้น ฤทธิ์ต้านการชักของมันจึงคงทนกว่า และไม่จำเป็นต้องให้ยาซ้ำบ่อยเท่า
 
:ถ้าคนไข้ปกติจะหยุดชักหลังจากให้ไดแอซิแพม {{nowrap |1-2 คราว}} นี่อาจจะดีกว่าเพราะผลระงับประสาทของมันจะน้อยกว่าการให้ลอราเซแพม {{nowrap |1 ครั้ง}} คือฤทธิ์ต้านการชักและฤทธิ์ระงับประสาทของ{{nowrap |ไดแอซิแพม}}จะหมดไปหลังจาก {{nowrap |15-30 นาที}} แต่ฤทธิ์ของลอราเซแพมจะคงยืนถึง {{nowrap |12-24 ชม.}}<ref name="pmid11898891">{{Cite journal | author = Lackner, TE | title = Strategies for optimizing antiepileptic drug therapy in elderly people | journal = Pharmacotherapy | volume = 22 | issue = 3 | pages = 329-364 | year = 2002 | pmid = 11898891 | doi = 10.1592/phco.22.5.329.33192 | url = http://www.medscape.com/viewarticle/430209_3 | deadurl = no | archiveurl = https://web.archive.org/web/20031015072253/http://www.medscape.com/viewarticle/430209_3 | archivedate = 2003-10-15 }}
</ref> แต่ผลระงับประสาทที่ยาวกว่าของลอราเซแพมอาจเป็นข้อแลกเปลี่ยนที่ให้พอยอมรับได้เพื่อให้ได้ผลที่คงยืนกว่า โดยเฉพาะถ้าต้องส่งคนไข้ไปยังสถานพยาบาลอีกที่หนึ่ง แม้ลอราเซแพมอาจจะไม่ได้ผลดีกว่าไดแอซิแพมเพื่อระงับการชักในเบื้องต้น<ref name="pmid16714516">{{Cite journal | last1 = Choudhery | first1 = V | last2 = Townend | first2 = W | title = Lorazepam or diazepam in paediatric status epilepticus | journal = Emergency Medicine Journal | year = 2006 | volume = 23 | issue = 6 | pages = 472-473 | pmid = 16714516 | pmc = 2564351 | doi = 10.1136/emj.2006.037606 | url = http://emj.bmj.com/cgi/content/extract/23/6/472 | deadurl = no | archiveurl = https://web.archive.org/web/20071014160935/http://emj.bmj.com/cgi/content/extract/23/6/472 | archivedate = 2007-10-14 }}
</ref> แต่ก็กลายเป็นยาที่ได้ทดแทนไดแอซิแพมเมื่อให้ทางเส้นเลือดดำเพื่อรักษาภาวะชักต่อเนื่อง<ref>
เส้น 350 ⟶ 345:
ความเข้มข้นในน้ำเลือดของลอราเซแพมขึ้นอยู่กับขนาดยาที่ให้
ยา 2&nbsp;มก. ที่กินทางปากจะถึงความเข้มข้นในเลือดสูงสุดที่ราว ๆ 20&nbsp;นาโนกรัม/มิลลิลิตรประมาณ {{nowrap |2 ชม.}} ต่อมา<ref name="Lorzem" /><ref name="pmid8232" />
ครึ่งหนึ่งเป็น{{nowrap |ลอราเซแพม}} และอีกครึ่งเป็นเมแทบอไลต์ที่ไม่มีฤทธิ์คือลอราเซแพม-กลูคิวโรไนด์<ref name="pmid16243469">{{Cite journal | last1 = Papini | first1 = O | last2 = Bertucci | first2 = C | last3 = da Cunha | first3 = SP | last4 = NA | first4 = dos Santos | last5 = Lanchote | first5 = VL | title = Quantitative assay of lorazepam and its metabolite glucuronide by reverse-phase liquid chromatography-tandem mass spectrometry in human plasma and urine samples | journal = Journal of Pharmaceutical and Biomedical Analysis | year = 2006 | volume = 40 | issue = 2 | pages = 389-396 | pmid = 16243469 | doi = 10.1016/j.jpba.2005.07.033 }}</ref>
ลอราเซแพมขนาดเดียวกันที่ให้ทางเส้นเลือดดำจะได้ความเข้มข้นสูงสุดที่สูงกว่าและเร็วกว่า และมีลอราเซแพมที่ยังไม่เปลี่ยนเป็นเมแทบอไลต์และยังมีฤทธิ์ในสัดส่วนที่สูงกว่า<ref name="pmid2743706">{{Cite journal | last1 = Herman | first1 = RJ | last2 = Van Pham | first2 = JD | last3 = Szakacs | first3 = CB | title = Disposition of lorazepam in human beings: enterohepatic recirculation and first-pass effect | journal = Clinical Pharmacology and Therapeutics | year = 1989 | volume = 46 | issue = 1 | pages = 18-25 | pmid = 2743706 | doi = 10.1038/clpt.1989.101 }}</ref>
 
หลังจากให้เป็นประจำ ระดับสูงสุดในเลือดจะถึงสูงสุดภายใน {{nowrap |3 วัน}}
การใช้ยาในระยะยาวจะไม่สะสมยาเพิ่มขึ้นจนถึงอย่างน้อย {{nowrap |6 เดือน}}<ref name="Lorzem" />
หลังจากเลิกให้ยา ระดับยาในเลือดจะถึงระดับไม่สำคัญหลังจาก {{nowrap |3 วัน}}และจะตรวจจับไม่ได้หลังจากอาทิตย์หนึ่ง
เส้น 394 ⟶ 389:
ยาที่ให้ทางเส้นเลือดดำควรให้อย่างช้า ๆ และคอยเฝ้าตรวจผลข้างเคียง เช่น กดการหายใจ ความดันเลือดต่ำ และทางเดินอากาศติดขัด
 
แม้จะเห็นผลเบื้องต้น ๆ ก่อนหน้านี้
ฤทธิ์สูงสุดจะเกิดใกล้กับระดับสูงสุดในเลือดโดยคร่าว ๆ<ref name="pmid8232">{{Cite journal | last1 = Greenblatt | first1 = DJ | last2 = Schillings | first2 = RT | last3 = Kyriakopoulos | first3 = AA | last4 = Shader | first4 = RI | last5 = Sisenwine | first5 = SF | last6 = Knowles | first6 = JA | last7 = Ruelius | first7 = HW | title = Clinical pharmacokinetics of lorazepam. I. Absorption and disposition of oral 14C-lorazepam | journal = Clinical Pharmacology and Therapeutics | volume = 20 | issue = 3 | pages = 329-341 | year = 1976 | pmid = 8232 | doi = 10.1002/cpt1976203329 }}</ref>
เกิดหลังให้ผ่านเส้นเลือดดำ {{nowrap |10 นาที}} เกิดหลังฉีดเข้ากล้ามเนื้ออาจถึง {{nowrap |60 นาที}} และเกิดหลังกิน {{nowrap |90-120 นาที}}<ref name="Lorzem">{{cite web | url = http://www.medsafe.govt.nz/Profs/Datasheet/l/Lorzemtab.htm | title = Lorzem Data Sheet | date = 1999-06-04 | publisher = New Zealand Medicines and Medical Devices Safety Authority | accessdate = 2007-05-13 | deadurl = yes | archiveurl = https://web.archive.org/web/20070928070833/http://www.medsafe.govt.nz/Profs/Datasheet/l/Lorzemtab.htm | archivedate = 2007-09-28 }}</ref><ref name="pmid8232" />
ขนาดที่ใช้รักษาปกติจะมีผลนาน {{nowrap |6-12 ชม.}} ทำให้ไม่เหมาะให้ยาวันละครั้ง ดังนั้น จึงให้ {{nowrap |2-4 ครั้งต่อวัน}}โดยอาจเพิ่มเป็น {{nowrap |5-6 ครั้ง}}โดยเฉพาะในคนชราที่ไม่สามารถรับยาขนาดมาก ๆ ได้
แม้จะเห็นผลเบื้องต้น ๆ ก่อนหน้านี้
ขนาดที่ใช้รักษาปกติจะมีผล {{nowrap |6-12 ชม.}} ทำให้ไม่เหมาะให้ยาวันละครั้ง ดังนั้น จึงให้ {{nowrap |2-4 ครั้งต่อวัน}}โดยอาจเพิ่มเป็น {{nowrap |5-6 ครั้ง}}โดยเฉพาะในคนชราที่ไม่สามารถรับยาขนาดมาก ๆ ได้
 
ยาลอราเซแพมเฉพาะแห่งสำหรับผิว (topical) แม้จะใช้รักษาอาการคลื่นไส้โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับผู้ที่อยู่ในบ้านดูแลคนป่วยหนัก ไม่ควรใช้สำหรับการนี้เพราะไม่มีหลักฐานว่ามีประสิทธิผล<ref name="AAHPMfive">{{Citation | author1 = American Academy of Hospice and Palliative Medicine | title = Five Things Physicians and Patients Should Question | publisher = American Academy of Hospice and Palliative Medicine | work = Choosing Wisely: an initiative of the ABIM Foundation | url = http://www.choosingwisely.org/doctor-patient-lists/american-academy-of-hospice-palliative-medicine/ | accessdate = 2013-08-01 | deadurl = no | archiveurl = https://web.archive.org/web/20130901101934/http://www.choosingwisely.org/doctor-patient-lists/american-academy-of-hospice-palliative-medicine/ | archivedate = 2013-09-01 }}, which cites
เส้น 404 ⟶ 399:
 
== ประวัติ ==
[[ไฟล์:AtivanAd.jpg|thumb|โฆษณาปี 1987
"ในโลกที่มีความแน่นอนน้อย...ไม่น่า หมอผู้ห่วงใยจำนวนมากจึงสั่งยาแอทิแวน"]]
ลอราเซแพมเป็นยาเบ็นโซไดอาเซพีนแบบคลาสสิกชนิดหนึ่ง
ชนิดอื่น ๆ รวมทั้ง[[ไดแอซิแพม]], [[คโลนะเซแพม]], oxazepam, nitrazepam, flurazepam, bromazepam และ clorazepate<ref>{{Cite journal | last1 = Braestrup | first1 = C | last2 = Squires | first2 = RF | title = Pharmacological characterization of benzodiazepine receptors in the brain | journal = European Journal of Pharmacology | year = 1978 | volume = 48 | issue = 3 | pages = 263-270 | pmid = 639854 | doi = 10.1016/0014-2999(78)90085-7 }}</ref>
เส้น 415 ⟶ 408:
ยายังใช้เพื่อการอื่น เช่นเพื่อเป็นยาเสพติด คือใช้ให้ได้ความเมา หรือเมื่อคนไข้ใช้ยาต่อไปในระยะยาวแม้หมอจะห้าม<ref name="Griffiths-2005">{{Cite journal | last1 = Griffiths | first1 = RR | last2 = Johnson | first2 = MW | title = Relative abuse liability of hypnotic drugs: a conceptual framework and algorithm for differentiating among compounds | journal = Journal of Clinical Psychiatry | year = 2005 | volume = 66 | issue = Suppl 9 | pages = 31-41 | pmid = 16336040 }}</ref>
 
งานศึกษาการไปหาหมอแผนกฉุกเฉินเพราะยางานใหญ่ทั่วประเทศของรัฐบาลกลางสหรัฐ ({{abbr |SAMHSA| Substance Abuse and Mental Health Services Administration }}) พบว่า ยาระงับประสาทและยานอนหลับเป็นยาที่ใช้นอกเหนือจากที่หมอสั่งมากที่สุดในสหรัฐ โดยการไปหาหมอแผนแผนกฉุกเฉินที่เกี่ยวกับยา 35% เป็นเพราะยาระงับประสาทและยานอนหลับ
<!-- In addition to recreational use, flunitrazepam, another member of the benzodiazepine family, may be taken to facilitate criminal activity.<ref name="pmid15029082" /> -->
เพราะฤทธิ์ทำให้เสียความจำ ระงับประสาท และทำให้นอนของยาเบ็นโซไดอาเซพีนเช่นยานี้ อาชญากรจึงอาจใช้กับเหยื่อเพื่อ[[ข่มขืน]]หรือปล้นทรัพย์{{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน | date = December 2015}}
งานศึกษาการไปหาหมอแผนกฉุกเฉินเพราะยางานใหญ่ทั่วประเทศของรัฐบาลกลางสหรัฐ ({{abbr |SAMHSA| Substance Abuse and Mental Health Services Administration }}) พบว่า ยาระงับประสาทและยานอนหลับเป็นยาที่ใช้นอกเหนือจากที่หมอสั่งมากที่สุดในสหรัฐ โดยการไปหาหมอแผนฉุกเฉินที่เกี่ยวกับยา 35% เป็นเพราะยาระงับประสาทและยานอนหลับ
ในหมวดหมู่นี้ เบ็นโซไดอาเซพีนเป็นยาสามัญที่สุด
ทั้งชายหญิงใช้ยานอกเหนือจากที่หมอสั่งเท่า ๆ กัน
ในบรรดายาที่ใช้ฆ่าตัวตาย {{nowrap |เบ็นโซไดอาเซพีน}}เป็นยาที่ใช้อย่างสมัญที่สุดสามัญที่สุด คือคนพยายามฆ่าตัวตาย 26% ใช้ยานี้
ลอราเซแพมเป็นยาที่ใช้เป็นอันดับ 3 ในสถิติที่ได้เหล่านี้<ref name=dawn2neodredv>{{cite web | url = http://www.samhsa.gov/data/DAWN/files/ED2006/DAWN2k6ED.htm | title = Drug Abuse Warning Network, 2006: National Estimates of Drug-Related Emergency Department Visits | access-date = 2014-02-21 | year = 2006 | publisher = Substance Abuse and Mental Health Services Administration | deadurl = no | archive-url = https://web.archive.org/web/20140316023656/http://www.samhsa.gov/data/DAWN/files/ED2006/DAWN2k6ED.htm | archive-date = 2014-03-16 }}</ref>
 
เส้น 427 ⟶ 418:
 
=== ราคา ===
ในปี 2000 บริษัทขายยา Mylan ได้ยินยอมจ่ายค่าปรับ {{nowrap |147 ล้านเหรียญสหรัฐ}} (ประมาณ {{nowrap |5,907 ล้านบาท}}) เพราะคำกล่าวหาของคณะกรรมการการค้ากลางสหรัฐ ({{abbr |FTC| Federal Trade Commission }}) ว่าบริษัทโก่งราคายาสามัญคือลอราเซแพม 2,600% และ clorazepate (เป็นเบ็นโซไดอาเซพีนอีกชนิดหนึ่ง) 3,200% ในปี 1998 หลังจากได้รับสัญญาผูกขาดสำหรับองค์ประกอบของยาบางอย่างของยา<ref>{{Cite news | author = Labaton, S | title = Generic-Drug Maker Agrees to Settlement In Price-Fixing Case | newspaper = The New York Times | date = 2000-07-13 | url = https://query.nytimes.com/gst/fullpage.html?sec=health&res=9806E7DB1F38F930A25754C0A9669C8B63 | accessdate = 2007-05-14 | deadurl = no | archiveurl = https://web.archive.org/web/20071014185951/http://query.nytimes.com/gst/fullpage.html?sec=health&res=9806E7DB1F38F930A25754C0A9669C8B63 | archivedate = 2007-10-14 }}</ref>
 
== เชิงอรรถ ==