ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตรีรัตน์ ศิริจันทโรภาส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wiki15831 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 20:
นายตรีรัตน์ เข้าสู่การเมือง ผ่านการชักชวนโดยคุณหญิงสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์<ref name=":1" /> โดยเริ่มงานการเมืองด้วยการเป็นทีมนโยบายของพรรคเพื่อไทย กรรมการสื่อสารการเมืองพรรคเพื่อไทย และได้ลงสมัคร[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร]] เขต 13 (เขตบางกะปิ-วังทองหลาง) ซึ่งเป็นพื้นที่เดิมของคุณหญิงสุดารัตน์
 
ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 24 มีนาคม 2562 นายตรีรัตน์ แพ้การเลือกตั้งด้วยคะแนน 23,912 ขณะที่ผู้สมัครจากพรรคพลังประชารัฐชนะไปได้อย่างฉิวเฉียดด้วยคะแนน 27,489 ซึ่งหลังจากทราบผลการเลือกตั้งแบบไม่เป็นทางการ 5 วัน นายตรีรัตน์ได้ยื่นร้องเรียน กกต.ถึงความผิดปกติในการเลือกตั้ง โดยได้นำหลักฐานข้อเท็จจริงถึงคะแนนที่ไม่ตรงกันตามประกาศของกกต.<ref>https://www.voicetv.co.th/read/qaF6De9x-</ref> และคะแนนที่ปรากฎปรากฏอยู่หน้าหน่วย <ref>https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/833206</ref> เป็นเหตุให้กกต.ได้ออกแถลงการณ์เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2562 ให้จัดการเลือกตั้งใหม่ แต่ในแถลงการณ์นั้นให้จัดการเลือกตั้งใหม่เพียงแค่จำนวน 1 หน่วยเท่านั้น<ref>https://www.posttoday.com/politic/news/585482</ref> ด้วยเหตุผลว่ามีบัตรเขย่ง<ref>https://www.bbc.com/thai/thailand-47891132</ref>
 
หลังจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 24 มีนาคม 2562 นายตรีรัตน์ได้รับแต่งตั้งเป็น โฆษกคณะกรรมการยุทธศาสตร์พรรคเพื่อไทย <ref name=":1" /> และได้ร่วมก่อตั้งกลุ่มคนรุ่นใหม่พรรคเพื่อไทยในนาม "เพื่อไทยพลัส" โดยได้รับเลือกจากสมาชิกให้ดำรงตำแหน่ง เลขาธิการกลุ่ม <ref name=":1" /> ซึ่งต่อมาได้รับแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ในฐานะ เลขานุการประจำ[[คณะกรรมาธิการ]] [[ป.ป.ช.]]<ref name=":2" /> เลขานุการคณะอนุกรรมาธิการการพาณิชย์ โฆษกกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาการข่มขืนกระทำชำเราและการล่วงละเมิดทางเพศ<ref name=":3" /> และ ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ประจำคณะกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มชาติพันธุ์ และผู้มีความหลากหลายทางเพศ ในโควต้าของพรรคเพื่อไทย