ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าพระประทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคำผง ณ อุบล)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 61:
* '''[[ณ อุบล]]''' สกุลนี้สืบเชื้อสายเจ้าพระประทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคำผง) เจ้าเมืองอุบลราชธานีลำดับที่ 1 ผู้ขอรับพระราชทานนามสกุลสายนี้คือ [[พระอุบลเดชประชารักษ์ (เสือ ณ อุบล)]] กรมการเมืองพิเศษเมืองอุบลราชธานีในสมัย[[รัชกาลที่ 5]]
* '''สุวรรณกูฏ''' สกุลนี้สืบเชื้อสายผ่านทาง[[พระพรหมวรราชสุริยวงศ์ (กุทอง สุวรรณกูฏ)]] เจ้าเมืองอุบลราชธานีลำดับที่ 3 บุตรในเจ้าพระประทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคำผง) ผู้ขอรับพระราชทานนามสกุลคือ รองอำมาตย์เอก พระบริคุฏคามเขต (โหง่นคำ สุวรรณกูฏ)
* '''สิงหัษฐิต''' สกุลนี้สืบเชื้อสายผ่านทาง ท้าวสิงผู้เป็นบุตรของเจ้าพระตา ผู้ขอรับพระราชทานนามสกุล คือ อำมาตย์ตรี พระวิภาคย์พจนกิจ (หนูเล็ก สิงหัษฐิต) บิดาของนาย[[เติม วิภาคย์พจนกิจ]] ผู้เขียนหนังสือ ฝั่งขวาแม่น้ำโขง และ ''ประวัติศาสตร์อีสาน''
* '''บุตโรบล''' สายนี้สืบมาจากท้าวโคตซึ่งเป็นบุตรในเจ้าพระตา และเป็นพระราชอนุชาในเจ้าพระปทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคำผง) ผู้รับพระราชทานสกุลคือ ร้อยโท พระอุบลกิจประชากร (บุญเพ็ง บุตโรบล) สายสกุลนี้เป็นสายสกุลของอัญญานางเจียงคำ บุตโรบล ([[หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยา]]) ใน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์]]
* '''ทองพิทักษ์''' สกุลนี้สืบเชื้อสายผ่านทางเจ้าอุปฮาด (สุดตา) เชษฐาของพระพรหมราชวงศา (กุทอง สุวรรณกูฏ) พระราชโอรสในเจ้าพระประทุมวรราชสุริยวงศ์ ท้าวไกรยราช (พู) บุตรของเจ้าอุปฮาด (สุดตา) เป็นผู้ขอรับพระราชทานนามสกุล
* '''พรหมวงศานนท์''' สกุลนี้สืบเชื้อสายผ่านทางท้าวพรหมวงษา ผู้ขอรับพระราชทานนามสกุลคือ รองอำมาตย์โท พระอุบลการประชานิตย์ (บุญชู พรหมวงศานนท์) อดีตข้าหลวงบริเวณอุบลราชธานี (2450)
* '''อมรดลใจ''' สกุลนี้สืบเชื้อสายผ่านทางพระอมรดลใจ (อ้ม) อดีตบรรดาศักดิ์ที่ท้าวสุริยวงศ์ เจ้า[[อำเภอตระการพืชผล|เมืองตระการพืชผล]]องค์แรก ท่านนี้เป็นบุตรในพระพรหมราชวงศา (กุทอง สุวรรณกูฏ) เจ้าเมืองอุบลราชธานีองค์ที่ 3 และเป็นเขยในเจ้าองค์ครองนครจำปาศักดิ์
* '''ทองพิทักษ์''' สกุลนี้สืบเชื้อสายผ่านทางเจ้าอุปฮาด (สุดตา) เชษฐาของพระพรหมราชวงศา (กุทอง สุวรรณกูฏ) พระราชโอรสในเจ้าพระประทุมวรราชสุริยวงศ์ ท้าวไกรยราช (พู) บุตรของเจ้าอุปฮาด (สุดตา) เป็นผู้ขอรับพระราชทานนามสกุล
* '''โทนุบล''' สกุลนี้สืบเชื้อสายผ่านทางเจ้าเมืองมหาชนะชัย หรือท้าวคำพูน สุวรรณกูฏ ผู้เป็นบุตรในพระพรหมราชวงศา (กุทอง สุวรรณกูฏ) เจ้าเมืองอุบลราชธานีองค์ที่ 3 โดยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานนามท้าวคำพูนว่า ''พระเรืองชัยชนะ'' เจ้าเมืองมหาชนะชัย ขึ้นตรงต่อเมืองอุบลราชธานี ต่อมาภายหลัง[[อำเภอมหาชนะชัย|เมืองมหาชนะชัย]]ได้ถูกลดฐานะเป็นอำเภอภายใต้การปกครองของเมืองอุบลราชธานี โดยมีหลวงวัฒนวงศ์ โทนุบล (โทน สุวรรณกูฏ) ผู้เป็นนัดดาในพระเรืองชัยชนะ เป็นนายอำเภอคนแรก
* '''อมรดลใจ''' สกุลนี้สืบเชื้อสายผ่านทางพระอมรดลใจ (อ้ม) อดีตบรรดาศักดิ์ที่ท้าวสุริยวงศ์สุวรรณกูฏ) เจ้า[[อำเภอตระการพืชผล|เมืองตระการพืชผล]]องค์แรก ท่านนี้เป็นบุตรในพระพรหมวรราชวงศาสุริยวงศ์ (กุทอง สุวรรณกูฏ) เจ้าเมืองอุบลราชธานีองค์ลำดับที่ 3 และเป็นเขยในเจ้าองค์ผู้ครองนครจำปาศักดิ์
* '''บุตโรบล''' สายนี้สืบมาจากท้าวโคตซึ่งเป็นบุตรในเจ้าพระตา และเป็นพระราชอนุชาในเจ้าพระปทุมวรราชสุริยวงศ์ ผู้รับพระราชทานสกุลคือ พระอุบลกิจประชากร (บุญเพ็ง บุตโรบล) สายสกุลนี้เป็นสายสกุลของอัญญานางเจียงคำ บุตโรบล ([[หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยา]]) ใน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์]]
* '''โทนุบล''' สกุลนี้สืบเชื้อสายผ่านทางเจ้าเมืองมหาชนะชัย หรือท้าวคำพูน สุวรรณกูฏ ผู้เป็นบุตรในพระพรหมวรราชวงศาสุริยวงศ์ (กุทอง สุวรรณกูฏ) เจ้าเมืองอุบลราชธานีองค์ลำดับที่ 3 โดยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานนามท้าวคำพูนว่า ''พระเรืองชัยชนะ'' เจ้าเมืองมหาชนะชัย ขึ้นตรงต่อเมืองอุบลราชธานี ต่อมาภายหลัง[[อำเภอมหาชนะชัย|เมืองมหาชนะชัย]]ได้ถูกลดฐานะเป็นอำเภอภายใต้การปกครองของเมืองอุบลราชธานี โดยมีหลวงวัฒนวงศ์ โทนุบล (โทน สุวรรณกูฏ) ผู้เป็นนัดดาในพระเรืองชัยชนะ เป็นนายอำเภอคนแรก
 
 
อนึ่ง ทายาทบุตรหลานสายใดก็ดีหรือสกุลใดก็ดี ที่ถือกำเนิดจากเชื้อสายของเจ้าพระประทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคำผง) และเจ้านายตุ่ยพระมเหสี นั้นนับว่าเป็นผู้สืบเชื้อสายจากราชวงศ์นับได้ถึง ๓ ราชวงศ์ อันได้แก่ ราชวงศ์ล้านช้างเวียงจันทน์ ราชวงศ์เชียงรุ้งแสนหวีฟ้า และราชวงศ์ล้านช้างจำปาศักดิ์