ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจเอ็นอาร์ คลาสซี 58"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
GuJemoeder51 (คุย | ส่วนร่วม)
GuJemoeder51 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับแอนดรอยด์
บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{กล่องข้อมูล รถจักร|สีตัวอักษร=#FFFFFF|สีพื้นหลัง=#006600|ชื่อ=รถจักรไอน้ำ C58, รถจักรไอน้ำแพรรี่ C58 (JNR Class C58)|ภาพ=C58 136.jpg|ขนาดภาพ=300|คำอธิบายใต้ภาพ=รถจักรไอน้ำแพรรี่ C58 หมายเลข 764 (C58-136)|ชื่อทางการ=รถจักรไอน้ำแห่งการรถไฟแห่งประเทศญี่ปุ่น ชั้น C58|ชนิด=[[รถจักรไอน้ำ]]|แรงม้า=880 แรงม้า|น้ำหนักจอดนิ่ง=100.20 ตัน|น้ำหนักทำงาน=58.70 ตัน|น้ำหนักกดเพลา=13.50 ตัน|วางล้อ=[[2-6-2]] (แพรรี่)|กว้าง=|สูง=3,900 มม.|ยาว=18,275 มม.|ห้ามล้อ=[[สุญญากาศ]] (ลมดูด)|ความจุ=|ความเร็ว=85 กม./ชม.|ผู้สร้าง=[[สมาคมอุตสาหกรรมรถไฟแห่งประเทศญี่ปุ่น]], {{ธง|ญี่ปุ่น}} [[ประเทศญี่ปุ่น]]|ราคา=|ใช้งาน=พ.ศ. 2489|ทั้งหมด=4 คัน|เลข=761-764|ใช้งานใน={{ธง|ไทย}} [[ประเทศไทย]] โดย [[การรถไฟแห่งประเทศไทย]] และ {{ธง|ญี่ปุ่น}} [[ประเทศญี่ปุ่น]] โดย [[การรถไฟแห่งประเทศญี่ปุ่น]]|ที่นั่ง=|ห้องขับ=มี 1 ห้องขับ,ฝั่ง|ตัดบัญชี=ทั้งหมด|คงเหลือ=|ปรับปรุง=|รวม=7374 ปี}}'''รถจักรไอน้ำแพรรี่ C58'''<ref>https://locosiam.blogspot.com/2014/01/blog-post.html</ref> หรือ '''รถจักรไอน้ำ C58''' '''(JNR Class C58)''' ({{ญี่ปุ่น|C58形}}) ส่วนใหญ่จะเรียกว่า '''รถจักรไอน้ำ C58''' เป็น[[รถจักรไอน้ำ]]ที่สร้างขื้นใน[[ประเทศญี่ปุ่น]] สร้างโดย[[สมาคมอุตสาหกรรมรถไฟแห่งประเทศญี่ปุ่น]] นำมาใช้การครั้งแรกของ [[ประเทศไทย]]เมื่อปี พ.ศ. 2489<ref>http://trainthai.blogspot.com/2013/01/blog-post_17.html</ref> จุดประสงค์หลักของรถจักรไอน้ำในระยะแรกจะใช้โดย[[กองกำลังป้องกันตนเองญี่ปุ่น|กองทัพญี่ปุ่น]]ในมลายู<ref>https://locosiam.blogspot.com/2014/01/blog-post.html</ref> (หรือ[[ประเทศมาเลเซีย]]ในปัจจุบัน) ใน[[สงครามโลกครั้งที่สอง|สงครามโลกครั้งที่ 2]] ต่อมา รถจักรไอน้ำแพรรี่ทั้ง 4 คัน ประกอบด้วย C58-52, C58-54, C58-130 และ C58-136 จึงขายให้ประเทศไทย โดย[[การรถไฟแห่งประเทศไทย]] โดยตั้งชื่อหมายเลขรถจักรชุดนี้คือ 761 ถึง 764 ตามลำดับ
 
== ประวัติ ==