ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฟองน้ำ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Cuteystudio (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Boom1221 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{Automatic taxobox
{{Taxobox
| name = ฟองน้ำ
| color = pink
| phylumtaxon = '''Porifera'''
| name = ฟองน้ำ
| fossil_range = [[{{fossil range|Ediacaran]] - ปัจจุบัน|recent}}
|image = Aplysina archeri (Stove-pipe Sponge-pink variation).jpg
| image = SpongeColorCorrect.jpg
|image_caption = ฟองน้ำชนิด ''[[Aplysina archeri]]''
| image_width = 200px
| phylum_authorityauthority = [[Robert Edmund Grant|Grant]] in [[Robert Bentley Todd|Todd]], 1836
| regnum = [[Animal]]ia
|type_species=''[[Amphimedon queenslandica]]''<ref>{{cite journal | vauthors = Srivastava M, Simakov O, Chapman J, Fahey B, Gauthier ME, Mitros T, Richards GS, Conaco C, Dacre M, Hellsten U, Larroux C, Putnam NH, Stanke M, Adamska M, Darling A, Degnan SM, Oakley TH, Plachetzki DC, Zhai Y, Adamski M, Calcino A, Cummins SF, Goodstein DM, Harris C, Jackson DJ, Leys SP, Shu S, Woodcroft BJ, Vervoort M, Kosik KS, Manning G, Degnan BM, Rokhsar DS | display-authors = 6 | title = The Amphimedon queenslandica genome and the evolution of animal complexity | journal = Nature | volume = 466 | issue = 7307 | pages = 720–6 | date = August 2010 | pmid = 20686567 | pmc = 3130542 | doi = 10.1038/nature09201 | bibcode = 2010Natur.466..720S }}</ref>|subdivision_ranks = ชั้น
| domain = [[Eukaryota]]
|subdivision =
| phylum = '''Porifera'''
* [[Calcarea]]
| phylum_authority = [[Robert Edmund Grant|Grant]] in [[Robert Bentley Todd|Todd]], 1836
* [[Hexactinellida]]
| subdivision_ranks = [[ชั้น (ชีววิทยา)|ชั้น]]
* [[เดโมสปองเจีย]]
| subdivision = [[Calcareous sponge|Calcarea]]<br />[[Hexactinellid]]a<br />[[Demosponges|Demospongiae]]
* [[Homoscleromorpha]]
}}
* †[[Stromatoporoidea]]
|synonyms=[[Parazoa]]/Ahistozoa (''sans'' [[Placozoa]])<ref>{{Cite journal |journal=Ethnolinguistic |last1=Pajdzińska |first1=Anna | name-list-format = vanc |title=Animals die more shallowly: they aren't deceased, they're dead. Animals in the polish linguistic worldview and in contemporary life sciences|doi=10.17951/et.2017.29.135|url=http://cejsh.icm.edu.pl/cejsh/element/bwmeta1.element.ojs-doi-10_17951_et_2017_29_135/c/4972-5509.pdf|date=2018|volume=29|pages=147–161|access-date=}}</ref>}}
 
{{ความหมายอื่น|เกี่ยวกับ=สัตว์ |สำหรับ= |ดูที่=ฟองน้ำ (แก้ความกำกวม)}}
'''ฟองน้ำ''' เป็นสัตว์ใน[[ไฟลัม]]'''พอริเฟอรา'''{{efn|เป็นชื่อที่มักพบในหนังสือเรียนและอินเทอร์เน็ต แต่ Porifera ออกเสียงตามสัทอักษรสากลว่า {{IPAc-en|p|ə|ˈ|r|ɪ|f|ər|ə}} ''เพอ-ริ-เฟอ-เรอ''}} (''Porifera'' มีรากศัพท์มาจาก[[ภาษาละติน]] - ''porus'' หมายถึง รู และ ''ferre'' หมายถึง พยุงหรือค้ำเอาไว้) เป็นเคลดฐานของ[[สัตว์]] ในฐานะเป็นเคลดพี่น้องกับ[[ยูเมทาซัว]]<ref name = "Feuda_2017">{{cite journal | vauthors = Feuda R, Dohrmann M, Pett W, Philippe H, Rota-Stabelli O, Lartillot N, Wörheide G, Pisani D | display-authors = 6 | title = Improved Modeling of Compositional Heterogeneity Supports Sponges as Sister to All Other Animals | journal = Current Biology | volume = 27 | issue = 24 | pages = 3864–3870.e4 | date = December 2017 | pmid = 29199080 | doi = 10.1016/j.cub.2017.11.008 }}</ref><ref>{{cite journal | vauthors = Pisani D, Pett W, Dohrmann M, Feuda R, Rota-Stabelli O, Philippe H, Lartillot N, Wörheide G | display-authors = 6 | title = Genomic data do not support comb jellies as the sister group to all other animals | journal = Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America | volume = 112 | issue = 50 | pages = 15402–7 | date = December 2015 | pmid = 26621703 | pmc = 4687580 | doi = 10.1073/pnas.1518127112 | bibcode = 2015PNAS..11215402P }}</ref><ref name = "Simion_2017">{{cite journal | vauthors = Simion P, Philippe H, Baurain D, Jager M, Richter DJ, Di Franco A, Roure B, Satoh N, Quéinnec É, Ereskovsky A, Lapébie P, Corre E, Delsuc F, King N, Wörheide G, Manuel M | display-authors = 6 | title = A Large and Consistent Phylogenomic Dataset Supports Sponges as the Sister Group to All Other Animals | language = English | journal = Current Biology | volume = 27 | issue = 7 | pages = 958–967 | date = April 2017 | pmid = 28318975 | doi = 10.1016/j.cub.2017.02.031 | url = https://hal.archives-ouvertes.fr/hal-01681528/file/Simion_etal2017_CurrBiol_proofs.pdf | type = <!-- Submitted manuscript --> | bibcode = 1996CBio....6.1213A }}</ref><ref>{{Cite journal|last=Giribet|first=Gonzalo | name-list-format = vanc |date=1 October 2016|title=Genomics and the animal tree of life: conflicts and future prospects|journal=Zoologica Scripta |volume=45|pages=14–21|doi=10.1111/zsc.12215|issn=1463-6409}}</ref><ref>{{cite biorxiv| vauthors = Laumer CE, Gruber-Vodicka H, Hadfield MG, Pearse VB, Riesgo A, Marioni JC, Giribet G |date=2017-10-11|title=Placozoans are eumetazoans related to Cnidaria|biorxiv=200972}}</ref> ฟองน้ำเป็น[[สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์]]ที่ร่างกายเต็มไปด้วยรูและช่องทางสำหรับให้น้ำไหลเวียนเข้าไป โดยประกอบด้วยเมโซฮิลที่คล้ายวุ้นขนาบด้วยชั้นเซลล์บาง ๆ สองชั้น สาขาของสัตววิทยาที่ศึกษาฟองน้ำเรียกว่า '''spongiology'''<ref>{{cite Merriam-Webster|Spongiology|access-date=27 December 2017}}</ref>
'''ฟองน้ำ''' เป็นสิ่งมีชีวิตจำพวกเดียวใน[[ไฟลัม]]'''พอริเฟอรา''' (''Porifera'' มีรากศัพท์มาจาก[[ภาษาละติน]] - ''porus'' หมายถึง รู และ ''ferre'' หมายถึง พยุงหรือค้ำเอาไว้) เป็น[[สัตว์]]หลายเซลล์ที่มีวิวัฒนาการต่ำสุด มีรูปร่างคล้ายแจกันที่มีรูพรุนเล็ก ๆ ทั่วตัวซึ่งเป็นช่องทางให้น้ำผ่านเข้าไปในลำตัว มี[[เซลล์]]เรียงกันเป็นสองชั้นแต่ยังไม่มี[[เส้นประสาท]]และ[[กล้ามเนื้อ]]ที่แท้จริง ไม่มี[[อวัยวะ]]และทางเดินอาหาร ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ใน[[ทะเล|น้ำทะเล]] มีบางชนิดเท่านั้นที่อาศัยอยู่ในน้ำจืด ตัวอ่อนของฟองน้ำนั้นมีเซลล์ที่สามารถว่ายน้ำได้ เรียกระยะนี้ว่า แอมพิบลาสทูลา (Amphiblastula) โดยจะว่ายน้ำไปเกาะตาม[[หินปูน|ก้อนหิน]] เมื่อเจริญเติบโตแล้วจะกลายเป็นฟองน้ำที่ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ ฟองน้ำในปัจจุบันมีอยู่ประมาณ 7,000 [[สปีชีส์|สายพันธุ์]] มักพบในเขตน้ำลึกกลาง[[มหาสมุทร]] (ลึกประมาณ 8,500 เมตร)
 
ฟองน้ำมีเซลล์ต้นกำเนิดที่สามารถแปลงไปเป็นเซลล์ประเภทอื่นได้ และมักจะย้ายที่ไปมาระหว่างชั้นเซลล์หลักและเมโซฮิลในกระบวนการการแปลง ฟองน้ำไม่มีระบบประสาท ระบบย่อยอาหาร หรือระบบไหลเวียน แต่ฟองน้ำเหล่านี้ใช้น้ำที่ไหลเวียนเข้าออกนั้นเป็นแหล่งอาหารและออกซิเจน และใช้ขับถ่ายของเสีย ฟองน้ำเป็นสัตว์กลุ่มแรกที่แยก[[สายวิวัฒนาการ]]ออกจากบรรพบุรุษร่วมของสัตว์ทุกชนิด จึงทำให้ฟองน้ำเป็น[[กลุ่มพี่น้อง]]กับสัตว์อื่น ๆ ทุกชนิด<ref name = "Feuda_2017" />{{toclimit|3}}
ต้นกำเนิดของฟองน้ำอาจย้อนไปถึง[[ยุคพรีคัมเบรียน]] (Precambrian) หรือประมาณ 4,500 ล้านปีที่แล้ว พิสูจน์โดย[[ฟอสซิล|ซากฟอสซิล]]ของฟองน้ำ
 
นอกจากนี้แล้ว ฟองน้ำยังถือว่าเป็นสัตว์ที่มีอายุยืนสูงสุดในบรรดาอาณาจักรสัตว์ทั้งหมดอีกด้วย โดยมีอายุยืนได้ถึงหมื่นปี<ref>''ขวัญถุงเงินล้าน'', รายการเกมโชว์ทางช่อง 5: อังคารที่ 24 กันยายน 2556</ref>
 
== โครงสร้าง ==
บรรทัด 64:
* ชั้น[[ฟองน้ำแก้ว|เฮแซกทินเนลลิดา]] (Hexactinellida) หรือ ''[[ฟองน้ำแก้ว]]'' คือฟองน้ำหกแฉก ขวากมีองค์ประกอบเป็นซิลิกาซึ่งมีโครงสร้างสานกันเป็นตาข่าย มีรูปร่างคล้ายแจกันและมีสีสันสวยงาม ฟองน้ำชนิดนี้อาศัยอยู่ในทะเลบริเวณน้ำลึก ได้แก่ [[กระเช้าดอกไม้วีนัส]] (Venus Flower Basket) หรือฟองน้ำสายพันธุ์ยูเพลคเทลลา (Euplactella)
* ชั้น[[ฟองน้ำถูตัว|เดโมสปอนเจีย]] (Demospongiae) เป็นฟองน้ำที่มีลักษณะอ่อนนุ่ม ขวากมีองค์ประกอบเป็นเส้นใยที่เป็นสารจำพวก[[สเกลอโรโปรตีน]] หรือบางชนิดอาจเป็นซิลิกาผสมใย[[โปรตีน]] ไม่มีหินปูนเป็นองค์ประกอบ ฟองน้ำจำพวกนี้อาศัยอยู่ในทะเล และมีสีสันสวยงามได้แก่ [[ฟองน้ำถูตัว]], (''Spongia'') [[ฟองน้ำดอกเห็ด]], (''Pterion'') และ[[ฟองน้ำจืด]] (''Spongilla'')
 
== เชิงอรรถ ==
{{notelist}}
 
== อ้างอิง ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ฟองน้ำ"