ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ราชวงศ์ติ๋นมหาวงศ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
PickUp1994 (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
PickUp1994 (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 21:
 
==การสถาปนา==
'''ราชวงศ์ติ๋นมหาวงศ์''' หรือ'''ราชวงศ์หลวงติ๋นมหาวงศ์''' เป็นราชวงศ์ที่สืบราชสกุลมาจาก [[พญาหลวงติ๋นมหาวงศ์|เจ้าหลวงติ๋นมหาวงศ์]] เจ้านครเมืองน่าน เจ้าผู้ครองนครเมืองน่าน พระองค์ที่ 51 และเป็นเจ้าผู้ครองนครน่าน พระองค์ที่ 1 แห่งราชวงศ์ติ๋นมหาวงศ์ นับเป็นปฐมบรรพบุรุษราชสกุล "ณ น่าน" ครองเมืองน่านระหว่างปี พ.ศ. 2269 - 2294 และมีเจ้าผู้ครองนครสืบวงศ์ เรื่อยมา <ref>http://nanwaingsa.myreadyweb.com/article/category-74224.html</ref>จนถึงปี พ.ศ. 2474
 
เจ้าผู้ครองนครน่านและสาย ณ น่าน
'''ราชวงศ์ติ๋นมหาวงศ์''' น่านหรือ'''ราชวงศ์หลวงติ๋นมหาวงศ์''' เป็นราชวงศ์ที่สืบสายจากครั้งสมัยราชสกุลเจ้ามาจาก[[พญาหลวงติ๋นต้นติ๋นมหาวงศ์|เจ้าหลวงติ๋นมหาวงศ์]]ปฐมวงศ์ แห่งเจ้านครน่าน พระเจ้ากรุงอังวะได้โปรดฯให้ เพื่อขอเจ้าพญาติ๋นหลวง เมืองเชียงใหม่ มาเป็นเจ้าผู้ครองนครน่าน โดยการกราบทูลของพระนาขวา รั้งตำแหน่ง เจ้าผู้ครองนครน่าน มากว่า 10 ปี เจ้าพญาหลวงติ๋นมหาวงค์ติ๋นมหาวงศ์ ครองเมืองน่านระหว่าง พ.ศ. ๒๒๖๙–๒๒๙๔2269 - 2294 นับเป็นบรรพบุรุษราชสกุล ' 'ณ น่าน ' 'ในปัจจุบัน<ref>http://nanwaingsa.myreadyweb.com/article/category-74224.html</ref>
* บางตำราสัญนิฐานว่า [[พญาหลวงติ๋นมหาวงศ์|เจ้าหลวงติ๋นมหาวงศ์]] มีเชื้อสายเป็นเจ้า ที่ปกครอง[[เมืองเชียงใหม่]] และยังเป็นญาติวงศ์ กับพระเจ้าศรีสองเมือง กษัตริย์แคว้นล้านนา หรือเจ้าศรีสองเมืองพลศึกซ้ายไชยสงคราม เจ้านครเมืองน่าน เจ้าผู้ครองเมืองน่าน องค์ที่ 41
==ราชวงศ์ติ๋นมหาวงศ์ ภายใต้ราชอาณาจักรสยาม==
ต่อมานครน่าน ได้เป็นประเทศราชรวมอยู่ในราชอาณาจักรสยาม โดยในช่วง พ.ศ. ๒๒๙๗–๒๓๒๗2297 – 2327 หัวเมืองล้านนาต่าง ๆ พยายามแข็งข้อต่อพม่า สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงสามารถโจมตีขับไล่พม่าออกจากเชียงใหม่เป็นผลสำเร็จเมื่อปี พ.ศ. ๒๓๑๗ แต่นครน่านยังตกอยู่ในฝ่ายพม่า เจ้าน้อยวิฑูร เจ้านครน่านถูกจับและถูกคุมตัวส่งไปยังกรุงธนบุรี ( (พ.ศ. ๒๓๒๑ 2321) เมืองน่านจึงขาดผู้นำเจ้าผู้ปกครอง พม่าได้ยกทัพกวาดต้อนผู้คนไปอยู่ที่เชียงแสน ทำให้เมืองน่านถูกทิ้งร้างว่างเปล่า จนกระทั่งพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงแต่งตั้งให้เจ้ามงคลวรยศ หลานเจ้าพญาหลวงติ๋นมหาวงศ์ มาปกครองนครน่านที่รกร้างว่างเปล่า และในปี พ.ศ. ๒๓๒๘2328 กองกำลังพื้นเมืองล้านนาโดยการสนับสนุนของกองทัพสยาม ขับไล่พม่าออกไปได้สำเร็จ นครน่านจึงรวมเข้าอยู่ใน[[ราชอาณาจักรสยาม]] และเจ้ามงคลวรยศได้ยกนครน่านให้[[เจ้าฟ้าหลวงอัตถวรปัญโญ|เจ้าฟ้าอัตถวรปัญโญ]]ปกครองสืบไป
==ราชวงศ์ติ๋นมหาวงศ์ ภายใต้กรุงรัตนโกสินทร์==
เมื่อนครน่านขึ้นกับกรุงรัตนโกสินทร์ ในปี พ.ศ. ๒๓๓๑2331 เจ้าฟ้าอัตถวรปัญโญ ได้ลงไปเฝ้าพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ณ กรุงรัตนโกสินทร์ เพื่อขอเป็นข้าขอบขัณฑสีมา จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้เจ้าฟ้าอัตถวรปัญโญเป็นเจ้าผู้ครองนครน่าน และแต่งตั้งเจ้าสุมนเทวราช ขึ้นเป็นเจ้าพระยาหอหน้า พ.ศ. ๒๓๔๓2343 นครน่านจึงมีฐานะเป็นหัวเมืองประเทศราชของกรุงเทพฯ ตั้งแต่นั้นมา เจ้าฟ้าอัตถวรปัญโญมีความสามารถในการปกครองและบริหารบ้านเมืองเป็นอย่างยิ่ง นับแต่เจ้าฟ้าอัตถวรปัญโญ ขอเป็นข้าขอบขัณฑสีมากรุงรัตนโกสินทร์ เมืองน่านมีฐานะเป็นหัวเมืองประเทศราช เจ้าผู้ครองนครมีอำนาจสิทธิเด็ดขาด ในการปกครองพลเมือง การขึ้นครองนครแม้จะต้องได้รับความเห็นชอบจากกรุงรัตนโกสินทร์ แต่โดยทางปฏิบัติแล้ว พระมหากษัตริย์กรุงรัตนโกสินทร์ทรงให้เจ้านายและขุนนางผู้ใหญ่ในเมืองน่านเลือกตัวเจ้านายผู้มีอาวุโสเป็นเจ้าผู้ครองนครกันเอง มิได้ทรงยุ่งเกี่ยวกับกิจการภายใน
เจ้าผู้ครองนครน่านในชั้นหลังทุกพระองค์ต่างจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ราชวงศ์จักรี ได้ช่วยราชการบ้านเมืองสำคัญ ๆ หลายครั้งหลายคราวด้วยกัน เช่น ช่วยราชการสงครามเมืองเชียงแสนในรัชกาลที่ 1 ปราบกบฏเจ้าอนุวงศ์ในรัชกาลที่ 3 ช่วยราชการสงครามเมืองเชียงตุง ในรัชกาลที่ 4 และ 5 เป็นต้น
สมัยเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ เป็นเจ้าผู้ครองนครน่าน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงแก้ไขวิธีการปกครองแผ่นดินขึ้นใหม่ ในปี พ.ศ. ๒๔๓๕2435 โดยแบ่งการปกครองหัวเมืองออกเป็นมณฑลเทศาภิบาล ได้ทรงส่งข้าราชการผู้ใหญ่ที่ไว้วางพระราชหฤทัยจากกรุงเทพ ฯ เป็นผู้แทนต่างพระเนตร พระกรรณมากำกับดูแล การบริหารบ้านเมืองของเจ้าผู้ครองนคร เรียกชื่อตามตำแหน่งทำเนียบว่า 'ข้าหลวงประจำเมือง '
 
ในปี พ.ศ. ๒๔๔๖2446 [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงมีพระราชดำริว่าเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ เจ้าผู้ครองนครน่าน ได้ประกอบคุณงามความดี แก่ราชการบ้านเมือง เป็นที่รักใคร่นับถือของเจ้านายท้าวพระยาและพลเมืองโดยทั่วไป จึงมีพระบรมราชโองการให้สถาปนาเลื่อนยศฐานันดรศักดิ์ขึ้นเป็น ' พระเจ้านครน่าน' มีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏ ว่า ' พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชกุลเชษฐ มหันตชัยนันทบุรีมหาราชวงศาธิบดี ฯ '
ต่อมานครน่าน ได้เป็นประเทศราชรวมอยู่ในราชอาณาจักรสยาม โดยในช่วง พ.ศ. ๒๒๙๗–๒๓๒๗ หัวเมืองล้านนาต่าง ๆ พยายามแข็งข้อต่อพม่า สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงสามารถโจมตีขับไล่พม่าออกจากเชียงใหม่เป็นผลสำเร็จเมื่อปี พ.ศ. ๒๓๑๗ แต่นครน่านยังตกอยู่ในฝ่ายพม่า เจ้าน้อยวิฑูร เจ้านครน่านถูกจับและถูกคุมตัวส่งไปยังกรุงธนบุรี ( พ.ศ. ๒๓๒๑ ) เมืองน่านจึงขาดผู้นำ พม่าได้ยกทัพกวาดต้อนผู้คนไปอยู่ที่เชียงแสน ทำให้เมืองน่านถูกทิ้งร้างว่างเปล่า จนกระทั่งพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงแต่งตั้งให้เจ้ามงคลวรยศ หลานเจ้าพญาหลวงติ๋นมหาวงศ์ มาปกครองนครน่านที่รกร้างว่างเปล่า และในปี พ.ศ. ๒๓๒๘ กองกำลังพื้นเมืองล้านนาโดยการสนับสนุนของกองทัพสยาม ขับไล่พม่าออกไปได้สำเร็จ นครน่านจึงรวมเข้าอยู่ในราชอาณาจักรสยาม และเจ้ามงคลวรยศได้ยกนครน่านให้เจ้าฟ้าอัตถวรปัญโญปกครองสืบไป
 
เมื่อนครน่านขึ้นกับกรุงรัตนโกสินทร์ ในปี พ.ศ. ๒๓๓๑ เจ้าฟ้าอัตถวรปัญโญ ได้ลงไปเฝ้าพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ณ กรุงรัตนโกสินทร์ เพื่อขอเป็นข้าขอบขัณฑสีมา จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้เจ้าฟ้าอัตถวรปัญโญเป็นเจ้าผู้ครองนครน่าน และแต่งตั้งเจ้าสุมนเทวราช ขึ้นเป็นเจ้าพระยาหอหน้า พ.ศ. ๒๓๔๓ นครน่านจึงมีฐานะเป็นหัวเมืองประเทศราชของกรุงเทพฯ ตั้งแต่นั้นมา เจ้าฟ้าอัตถวรปัญโญมีความสามารถในการปกครองและบริหารบ้านเมืองเป็นอย่างยิ่ง นับแต่เจ้าฟ้าอัตถวรปัญโญ ขอเป็นข้าขอบขัณฑสีมากรุงรัตนโกสินทร์ เมืองน่านมีฐานะเป็นหัวเมืองประเทศราช เจ้าผู้ครองนครมีอำนาจสิทธิเด็ดขาด ในการปกครองพลเมือง การขึ้นครองนครแม้จะต้องได้รับความเห็นชอบจากกรุงรัตนโกสินทร์ แต่โดยทางปฏิบัติแล้ว พระมหากษัตริย์กรุงรัตนโกสินทร์ทรงให้เจ้านายและขุนนางผู้ใหญ่ในเมืองน่านเลือกตัวเจ้านายผู้มีอาวุโสเป็นเจ้าผู้ครองนครกันเอง มิได้ทรงยุ่งเกี่ยวกับกิจการภายใน
เจ้าผู้ครองนครน่านในชั้นหลังทุกพระองค์ต่างจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ราชวงศ์จักรี ได้ช่วยราชการบ้านเมืองสำคัญ ๆ หลายครั้งหลายคราวด้วยกัน เช่น ช่วยราชการสงครามเมืองเชียงแสนในรัชกาลที่ ๑ ปราบกบฏเจ้าอนุวงศ์ในรัชกาลที่ ๓ ช่วยราชการสงครามเมืองเชียงตุง ในรัชกาลที่ ๔ และ ๕ เป็นต้น
สมัยเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ เป็นเจ้าผู้ครองนครน่าน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงแก้ไขวิธีการปกครองแผ่นดินขึ้นใหม่ ในปี พ.ศ. ๒๔๓๕ โดยแบ่งการปกครองหัวเมืองออกเป็นมณฑลเทศาภิบาล ได้ทรงส่งข้าราชการผู้ใหญ่ที่ไว้วางพระราชหฤทัยจากกรุงเทพ ฯ เป็นผู้แทนต่างพระเนตร พระกรรณมากำกับดูแล การบริหารบ้านเมืองของเจ้าผู้ครองนคร เรียกชื่อตามตำแหน่งทำเนียบว่า 'ข้าหลวงประจำเมือง '
 
ในปี พ.ศ. ๒๔๔๖ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดำริว่าเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ เจ้าผู้ครองนครน่าน ได้ประกอบคุณงามความดี แก่ราชการบ้านเมือง เป็นที่รักใคร่นับถือของเจ้านายท้าวพระยาและพลเมืองโดยทั่วไป จึงมีพระบรมราชโองการให้สถาปนาเลื่อนยศฐานันดรศักดิ์ขึ้นเป็น ' พระเจ้านครน่าน' มีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏ ว่า ' พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชกุลเชษฐ มหันตชัยนันทบุรีมหาราชวงศาธิบดี ฯ '
 
เมื่อพระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช ถึงแก่พิราลัย เจ้ามหาพรหมสุรธาดา (เจ้าอุปราช) ได้ขึ้นครองเมืองน่าน ในสมัยนี้อำนาจของเจ้าผู้ครองนครลดน้อยลงทางกรุงเทพ ฯ ได้จัดส่งข้าราชการ เช่น ผู้ช่วยผู้ว่าราชการจังหวัด คลังจังหวัด และสรรพากรจังหวัด ฯลฯ มาประจำหน่วยงานเรียกกันว่า 'เค้าสนามหลวง' ส่วนตัวเจ้าผู้ครองนครได้กำหนดรายได้เป็นอัตราเงินเดือน ส่วยสาอากรต่าง ๆ ต้องเก็บเข้าท้องพระคลังทั้งสิ้น เมื่อเจ้ามหาพรหมสุรธาดาถึงแก่พิราลัยในปี พ.ศ. ๒๔๗๔ ตำแหน่งเจ้าผู้ครองนครถูกยุบเลิกแต่นั้นมา
บรรทัด 40:
ข้อมูลโดย เด็กชายทันทัน
ลงสีโดย เซบาสเตรียน พีท
* ในปี พ.ศ. 2269 เมื่อพระนาขวา (น้อยอินทร์) ผู้ดูแลเมืองน่านร่วม 11 ปี ก็ได้ไปกราบทูล[[พระเจ้ากรุงอังวะ]] เพื่อขอเจ้าติ๋นหลวง เมืองเชียงใหม่ มาเป็นเจ้าผู้ครองนครน่าน เนื่องจากพระนาขวา (น้อยอินทร์) ไม่มีเชื้อสายเจ้าเมืองมาก่อนจึงไม่กล้าครองเมืองน่าน เจ้าพญาหลวงติ๋นมหาวงศ์ ครองเมืองน่านระหว่าง พ.ศ. 2269 - 2294<ref>http://nanwaingsa.myreadyweb.com/article/category-74224.html</ref>
 
* บางตำราสัญนิฐานว่า [[พญาหลวงติ๋นมหาวงศ์|เจ้าหลวงติ๋นมหาวงศ์]] มีเชื้อสายเป็นเจ้า ที่ปกครอง[[เมืองเชียงใหม่]] และยังเป็นญาติวงศ์ กับพระเจ้าศรีสองเมือง กษัตริย์แคว้นล้านนา หรือเจ้าศรีสองเมืองพลศึกซ้ายไชยสงคราม เจ้านครเมืองน่าน เจ้าผู้ครองเมืองน่าน องค์ที่ 41
 
==พระนามเจ้าหลวงนครน่าน ==