ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Country Ball Thailand 2 (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขลบบางคำที่ไม่เกี่ยวข้อง และแก้ไขให้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ลิ้งเชื่อมต่อกันได้
Mon PK 09 (คุย | ส่วนร่วม)
เป็นการหมิ่นเกรียติ
บรรทัด 94:
หลังจากการแถลงลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์เสร็จสิ้น สมาชิกรัฐสภาพร้อมใจกันปรบมือให้เกียรติดังลั่นไปทั้งห้องประชุมสภา การตัดสินใจของท่านนั้นได้รับการแซ่ซ้องสรรเสริญเป็นอย่างสูงจากบุคคลต่างๆ '''พลเอกเปรม ติณสูลานนท์''' ได้กล่าวว่า “พลเอกเกรียงศักดิ์ ได้แสดงสปิริตออกมาเป็นที่น่ายกย่อง ไม่คาดมาก่อนว่าจะแก้ปัญหาด้วยการลาออก แต่ก็เหมาะสมดีแล้ว” หรือที่'''นายประสิทธิ์ ณรงค์เดช''' สมาชิกพรรคเสรีธรรม กล่าวว่า “เป็นตัวอย่างที่ดี ในชีวิตนักการเมืองของผม ถือว่าเป็นการตัดสินใจของลูกผู้ชาย ซึ่งจะเป็นพื้นฐานทางด้านประชาธิปไตย ผมนะปรบมือให้ไม่หยุดเลย”[9] นับว่าพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ เป็นสุภาพบุรุษทางการเมือง ไม่หวงอำนาจ แม้ว่าท่านจะเป็นนายกรัฐมนตรีที่มาจากการปฏิวัติ แต่ก็ลาออกตามวิถีทางประชาธิปไตย ซึ่งเป็นแบบอย่างที่ดีแก่นักการเมืองที่ควรยึดถือปฏิบัติ<ref>สมบูรณ์ คนฉลาด. เรื่องเดียวกัน, หน้า 605.</ref> รวมระยะเวลาการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของ พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ 2 สมัย เป็นเวลา 2 ปี 4 เดือน
 
<br />
=== โรคร้อยเอ็ด ===
หลังจากการเลือกตั้ง พ.ศ. 2522 มีการเลือกตั้งซ่อมที่จังหวัดร้อยเอ็ด เขตหนึ่ง เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2524 ครั้งนี้มีการแข่งขันกันอย่างดุเดือด ฝ่ายพลเอกเกรียงศักดิ์ ในฐานะหัวหน้า[[พรรคชาติประชาธิปไตย]] จึงต้องใช้การซื้อเสียงเชิงรุก เพื่อให้ได้ ส.ส. จึงใช้การแจกจ่ายเงินสดแทนข้าวของ ทำกันอย่างเอิกเกริกแต่ก็ไม่มีการลงโทษตามกฎหมาย จึงเป็นต้นกำเนิดของการซื้อเสียงอย่างแพร่หลายในภาคอีสานในเวลาต่อมา<ref>http://thaipoliticsgovernment.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B9%87%E0%B8%94</ref><ref>http://www.bangkokpost.com/news/election/243003/roi-et-disease-cure-costs-locals</ref>
 
== รางวัลและเกียรติยศ ==