ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การระบาดทั่วของโควิด-19"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 110:
งานวิจัย[[ฉบับร่าง]] (preprint) ซึ่งเป็นฉบับปรับปรุงที่เผยแพร่เมื่อวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2563 บน [[bioRxiv]] จากสมาชิกของสถาบันวิทยาไวรัสอู่ฮั่น, โรงพยาบาลจินหยินทันอู่ฮั่น, มหาวิทยาลัยแห่งสถาบันวิทยาศาสตร์จีน และศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคมณฑลหูเป่ย์ เสนอว่าโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่ 2019 มีความเป็นไปได้ที่จะมีต้นกำเนิดจากค้างคาว ดังที่ผลการวิเคราะหฺได้แสดงว่า nCoV-2019 มีความเหมือน 96% ในระดับจีโนมทั้งหมดกับโคโรนาไวรัสของค้างคาว<ref name="bioRxivBatOrigin">{{cite web |title=Discovery of a novel coronavirus associated with the recent pneumonia outbreak in humans and its potential bat origin |url=https://www.biorxiv.org/content/10.1101/2020.01.22.914952v2 |website=bioRxiv |publisher=[[bioRxiv]] |accessdate=24 January 2020|date=23 January 2020}}</ref>
 
การศึกษายีนยันยันว่าไวรัส nCoV-2019 เข้าสู่มนุษย์ผ่าน[[เอนไซม์แอนจิโอเทนซิน-คอนเวอร์ติง 2|ตัวรับ ACE 2]] เช่นเดียวกันกับกรณีของไวรัสโรคซาร์ส<ref name="Schnirring23Jan2020" /><ref name=Shi>{{Cite journal|last=Shi|first=Zheng-Li|last2=Zhou|first2=Peng|last3=Yang|first3=Xing-Lou|last4=Wang|first4=Xian-Guang|last5=Hu|first5=Ben|last6=Zhang|first6=Lei|last7=Zhang|first7=Wei|last8=Si|first8=Hao-Rui|last9=Zhu|first9=Yan|last10=Li|first10=Bei|last11=Huang|first11=Chao-Lin|date=23 January 2020|title=Discovery of a novel coronavirus associated with the recent pneumonia outbreak in humans and its potential bat origin|url=https://www.biorxiv.org/content/10.1101/2020.01.22.914952v1|journal=bioRxiv|pages=2020.01.22.914952|doi=10.1101/2020.01.22.914952}}</ref>
 
==วิทยาการระบาด==