ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การคุมกำเนิด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8103840 สร้างโดย 2001:44C8:44C8:E66E:1:2:23A0:3BBC (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
BeckNoDa (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
'''การคุมกำเนิด''' ({{lang-en|birth control}}) คือเทคนิคและวิธีการที่ใช้ในการป้องกันการปฏิสนธิหรือขัดขวางการตั้งครรภ์<ref>{{cite web|title=Definition of Birth control|url=http://www.medterms.com/script/main/art.asp?articlekey=53351|work=MedicineNet|accessdate=August 9, 2012|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20120806234913/http://www.medterms.com/script/main/art.asp?articlekey=53351|archivedate=August 6, 2012|df=mdy-all}}</ref> การคุมกำเนิดถูกใช้มาแต่โบราณ ทว่าวิธีที่ปลอดภัยและได้ผลดีพึ่งมีในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20<ref name="Hopkins2010">{{cite book|last1=Hanson|first1=S.J.|last2=Burke|first2=Anne E.|date=December 21, 2010|chapter=Fertility control: contraception, sterilization, and abortion|chapterurl=https://books.google.com/books?id=4Sg5sXyiBvkC&pg=PR232|editor1-last=Hurt|editor1-first=K. Joseph|editor2-last=Guile|editor2-first=Matthew W.|editor3-last=Bienstock|editor3-first=Jessica L.|editor4-last=Fox|editor4-first=Harold E.|editor5-last=Wallach|editor5-first=Edward E.|title=The Johns Hopkins manual of gynecology and obstetrics|edition=4th|location=Philadelphia|publisher=Wolters Kluwer Health/Lippincott Williams & Wilkins|pages=382–395|isbn=978-1-60547-433-5}}</ref> การวางแผน เตรียมการ และการใช้การคุมกำเนิดถูกเรียกว่าเป็น[[การวางแผนครอบครัว]]<ref name="OED2012">{{cite book|url=http://www.oed.com/view/Entry/19395|title=Oxford English Dictionary|date=June 2012|publisher=Oxford University Press}}</ref><ref name="WHO-health-topic">{{cite web|url=http://www.who.int/topics/family_planning/en/|title=Family planning|author=World Health Organization (WHO)|publisher=World Health Organization (WHO)|work=Health topics|accessdate=March 28, 2016|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20160318195523/http://www.who.int/topics/family_planning/en/|archivedate=March 18, 2016|df=mdy-all}}</ref> บางวัฒนธรรมไม่สนับสนุนและจำกัดการเข้าถึงวิธีการคุมกำเนิดเพราะเชื่อว่าเป็นสิ่งที่ไม่เป็นที่ต้องการทางศีลธรรม ศาสนา หรือการเมือง<ref name="Hopkins2010" />
 
<!-- วิธีคุมกำเนิด -->
วิธีที่ซึ่งให้ประสิทธิผลสูงสุดคือการทำหมัน โดย[[การตัดหลอดนำอสุจิ]] (vasectomy) ในเพศชายและ[[การผูกท่อรังไข่]]ในเพศหญิง การใส่[[ห่วงอนามัยคุมกำเนิด]] (IUD) และการใช้[[ยาฝังคุมกำเนิด]]<ref name="WHO_FP2011">{{cite book|author=World Health Organization Department of Reproductive Health and Research|title=Family planning: A global handbook for providers: Evidence-based guidance developed through worldwide collaboration|year=2011|publisher=WHO and Center for Communication Programs|location=Geneva, Switzerland|isbn=978-0-9788563-7-3|url=http://www.fphandbook.org/sites/default/files/hb_english_2012.pdf|edition=Rev. and Updated|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20130921054335/http://www.fphandbook.org/sites/default/files/hb_english_2012.pdf|archivedate=September 21, 2013|df=mdy-all}}</ref> ตามมาด้วยการใช้ฮอร์โมน เช่น [[ยาเม็ดคุมกำเนิด]] [[ยาคุมกำเนิดชนิดแผ่นแปะผิวหนัง]] [[วงแหวนช่องคลอด]] และ[[:en:Estradiol cypionate/medroxyprogesterone acetate|การฉีดฮอร์โมน]] วิธีที่ได้ผลรองลงมาได้แก่วิธี[[การนับระยะปลอดภัย]]และวิธีการที่ใช้สิ่งกีดขวาง เช่น [[ถุงยางอนามัย]] [[หมวกครอบปากมดลูก]] และ[[ฟองน้ำคุมกำเนิด]]<ref name="WHO_FP2011" /> วิธีที่ได้ผลน้อยที่สุดได้แก่การใช้[[สารฆ่าเชื้ออสุจิ]] (spermicide) และ[[การหลั่งนอกช่องคลอด]]<ref name="WHO_FP2011" />
 
การทำหมันให้ประสิทธิผลสูงแต่มักเป็นการคุมกำเนิดที่ถาวร ต่างกับวิธีอื่นซึ่งเป็นการคุมแบบชั่วคราวและสามารถย้อนกลับได้เมื่อหยุดใช้<ref name="WHO_FP2011" /> การปฏิบัติทางเพศที่ปลอดภัย เช่นการใช้ถุงยางอนามัยชายหรือหญิงยังสามารถป้องกัน[[โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์|การติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์]]<ref name="pmid22423463">{{cite journal|last1=Taliaferro|first1=L. A.|last2=Sieving|first2=R.|last3=Brady|first3=S. S.|last4=Bearinger|first4=L. H.|title=We have the evidence to enhance adolescent sexual and reproductive health—do we have the will?|journal=Adolescent medicine: state of the art reviews|volume=22|issue=3|pages=521–543, xii|year=2011|pmid=22423463}}</ref> ส่วนวิธีการคุมกำเนิดแบบอื่นไม่ป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์<ref name="pmid22341164">{{cite journal|last1=Chin|first1=H. B.|last2=Sipe|first2=T. A.|last3=Elder|first3=R.|last4=Mercer|first4=S. L.|last5=Chattopadhyay|first5=S. K.|last6=Jacob|first6=V.|last7=Wethington|first7=H. R.|last8=Kirby|first8=D.|last9=Elliston|first9=D. B.|doi=10.1016/j.amepre.2011.11.006|title=The Effectiveness of Group-Based Comprehensive Risk-Reduction and Abstinence Education Interventions to Prevent or Reduce the Risk of Adolescent Pregnancy, Human Immunodeficiency Virus, and Sexually Transmitted Infections|journal=American Journal of Preventive Medicine|volume=42|issue=3|pages=272–294|year=2012|pmid=22341164|pmc=|url=http://www.ajpmonline.org/article/S0749-3797(11)00906-8/abstract}}</ref> [[ยาคุมกำเนิดฉุกเฉิน|เทคนิคการคุมกำเนิดฉุกเฉิน]]สามารถป้องกันการตั้งครรภ์ได้ใช้ภายใน 72 ถึง 120 ชั่วโมงหลังมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ได้ป้องกัน<ref name="Gizzo2012">{{cite journal|last=Gizzo|first=S|last2=Fanelli|first2=T|last3=Di Gangi|first3=S|last4=Saccardi|first4=C|last5=Patrelli|first5=TS|last6=Zambon|first6=A|last7=Omar|first7=A|last8=D'Antona|first8=D|last9=Nardelli|first9=GB|title=Nowadays which emergency contraception? Comparison between past and present: latest news in terms of clinical efficacy, side effects and contraindications.|journal=Gynecological Endocrinology|date=October 2012|volume=28|issue=10|pages=758–63|pmid=22390259|doi=10.3109/09513590.2012.662546}}</ref><ref>{{cite book|title=Selected practice recommendations for contraceptive use.|date=2004|publisher=World Health Organization|location=Geneva|isbn=9789241562843|page=13|edition=2nd|url=https://books.google.com/books?id=77hFLypBfHYC&pg=RA2-PA16|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20170908191327/https://books.google.com/books?id=77hFLypBfHYC&pg=RA2-PA16|archivedate=September 8, 2017|df=mdy-all}}</ref> บางคนเชื่อว่า[[การงดเว้นการมีเพศสัมพันธ์|การไม่มีเพศสัมพันธ์]]เป็นการคุมกำเนิดแบบหนึ่ง ทว่าเพศศึกษาแบบที่สอนให้งดเว้นอย่างเดียวอาจเพิ่มโอกาส[[การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น]]หากไม่สอนควบคู่ไปกับการใช้การคุมกำเนิด เพราะการไม่ยอมทำตาม<ref name="pmid12065267">{{cite journal|vauthors=DiCenso A, Guyatt G, Willan A, Griffith L|title=Interventions to reduce unintended pregnancies among adolescents: systematic review of randomised controlled trials|journal=BMJ|volume=324|issue=7351|page=1426|date=June 2002|pmid=12065267|pmc=115855|doi=10.1136/bmj.324.7351.1426|url=}}</ref><ref name="pmid18923389">{{cite journal|last1=Duffy|first1=K.|last2=Lynch|first2=D. A.|last3=Santinelli|first3=J.|doi=10.1038/clpt.2008.188|title=Government Support for Abstinence-Only-Until-Marriage Education|journal=Clinical Pharmacology & Therapeutics|volume=84|issue=6|pages=746–748|year=2008|pmid=18923389|pmc=|url=http://www.nature.com/clpt/journal/v84/n6/full/clpt2008188a.html|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20081211135056/http://www.nature.com/clpt/journal/v84/n6/full/clpt2008188a.html|archivedate=December 11, 2008|df=mdy-all}}</ref> ในประเทศไทย พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 ให้ผู้มีอายุระหว่าง 10 ถึง 20 ปี เข้ารับการฝัง[[ยาฝังคุมกำเนิด|ยาคุมกำเนิดชนิดฝัง]]ใต้ผิวหนังได้ฟรีในโรงพยาบาลรัฐทั่วประเทศ<ref>{{Cite news|url=https://www.thairath.co.th/content/976723|title=วัยรุ่นต้องรู้! รพ.รัฐ รับฝังยาคุมกำเนิดฟรี ป้องกันท้องก่อนวัยอันควร|last=|first=|date=20-06-2017|work=|access-date=07-01-2018|archive-url=|archive-date=|dead-url=}}</ref>
บรรทัด 57:
วิธีคุมกำเนิดมีทั้งแบบใช้สิ่งกีดขวาง (barrier method), แบบใช้ฮอร์โมน, แบบใช้ห่วงอนามัยคุมกำเนิด (IUD), การทำหมัน, และวิธีทางพฤติกรรม ที่ใช้ก่อนหรือระหว่างมีเพศสัมพันธ์ ส่วน[[การคุมกำเนิดฉุกเฉิน]]อาจยับยั้งการตั้งครรภ์ได้หลายวันหลังมีเพศสัมพันธ์ ประสิทธิผลของวิธีคุมกำเนิดแบบต่าง ๆ มักอยู่ในรูปแบบของจำนวนเปอร์เซ็นต์ผู้หญิงที่ตั้งครรภ์เมื่อใช้วิธีนั้น ๆ ในปีแรก<ref>{{cite book|author=Gordon Edlin|author2=Eric Golanty|author3=Kelli McCormack Brown|title=Essentials for health and wellness|year=2000|publisher=Jones and Bartlett|location=Sudbury, Mass.|isbn=978-0-7637-0909-9|page=161|url=https://books.google.com/books?id=_0H4iyS_DFwC&pg=PA162|edition=2nd|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20160610000602/https://books.google.com/books?id=_0H4iyS_DFwC&pg=PA162|archivedate=June 10, 2016|df=mdy-all}}</ref> และบางทีวิธีที่มีประสิทธิผลสูงเช่น[[การผูกท่อรังไข่]]อาจถูกแสดงในรูปแบบของโอกาสล้มเหลวในช่วงชีวิต<ref name=Dew2012>{{cite book|editor-last=Edmonds|editor-first=D. Keith|title=Dewhurst's textbook of obstetrics & gynaecology|publisher=Wiley-Blackwell|year=2012|location=Chichester, West Sussex|isbn=978-0-470-65457-6|page=508|url=https://books.google.com/books?id=HfakBRceodcC&pg=PA508|edition=8th|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20160503061741/https://books.google.com/books?id=HfakBRceodcC&pg=PA508|archivedate=May 3, 2016|df=mdy-all}}</ref>
 
วิธีคุมกำเนิดที่มีประสิทธิผลสูงสุดได้แก่วิธีที่ให้ผลยาวนานโดยไม่จำเป็นต้องพบแพทย์เป็นประจำ<ref name=Will2012 /> การทำหมันโดยการผ่าตัด การฝังฮอร์โมน และการใส่ห่วงอนามัยคุมกำเนิดมีโอกาสล้มเหลวในปีแรกต่ำกว่า 1%<ref name=Trus2011 /> ยาเม็ดคุมกำเนิด [[ยาคุมกำเนิดชนิดแผ่นแปะผิวหนัง]] [[วงแหวนช่องคลอด]] และวิธี[[การคุมกำเนิดโดยการให้นมลูก]] (lactational amenorrhea method -LAM) มีโอกาสล้มเหลวต่ำกว่า 1% ในปีแรก (ใน 6 เดือนแรกสำหรับ LAM) หากใช้อย่างถูกต้อง<ref name=Will2012 /> โดยมีอัตราการล้มเหลวถึง 9% ในการใช้แบบทั่วไปเนื่องจากการใช้แบบผิด ๆ<ref name=Trus2011 /> วิธีแบบอื่น เช่น ถุงยางอนามัย ฝาครอบปากมดลูก (diaphragm) และสารฆ่าเชื้ออสุจิมีอัตราล้มเหลวในปีแรกที่สูงกว่าแม้เมื่อใช้งานอย่างถูกต้อง.<ref name=Will2012 /> สถาบัน[[กุมารเวชศาสตร์]]แห่งอเมริกาแนะนำให้ผู้เยาว์ใช้[[การคุมกำเนิดระยะยาวที่ย้อนกลับได้|วิธีคุมกำเนิดระยะยาวที่ย้อนกลับได้]]เป็นอันดับแรก<ref>{{cite journal|title=Contraception for Adolescents|journal=Pediatrics|date=September 29, 2014|doi=10.1542/peds.2014-2299|volume=134|pages=e1244–e1256|pmid=25266430}}</ref>
 
แม้วิธีคุมกำเนิดทุกแบบอาจมีผลข้างเคียง ผลเสียเหล่านั้นน้อยกว่าผลเสียที่มากับ[[การตั้งครรภ์]]<ref name=Will2012>{{cite book|last1=Cunningham|first1=F. Gary|last2=Stuart|first2=Gretchen S.|date=April 12, 2012|chapter=Contraception and sterilization|editor1-last=Hoffman|editor1-first=Barbara|editor2-last=Schorge|editor2-first=John O.|editor3-last=Schaffer|editor3-first=Joseph I.|editor4-last=Halvorson|editor4-first=Lisa M.|editor5-last=Bradshaw|editor5-first=Karen D.|editor6-last=Cunningham|editor6-first=F. Gary|title=Williams gynecology|edition=2nd|location=New York|publisher=McGraw-Hill Medical|pages=132–169|isbn=978-0-07-171672-7}}</ref> คนที่หยุดการใช้ยาคุมกำเนิดหรือยาฉีด หรือถอดอุปกรณ์คุมกำเนิดแบบต่าง ๆ เช่น ห่วงอนามัยหรือยาฝังมีอัตราการตั้งครรภ์ในปีต่อมาเท่ากับคนที่ไม่ได้คุมกำเนิด<ref>{{cite journal|last=Mansour|first=D|last2=Gemzell-Danielsson |first2=K |last3=Inki |first3=P |last4=Jensen |first4=JT|title=Fertility after discontinuation of contraception: a comprehensive review of the literature|journal=Contraception|date=November 2011|volume=84|issue=5|pages=465–77|pmid=22018120|doi=10.1016/j.contraception.2011.04.002|ref=harv}}</ref>
บรรทัด 67:
การคุมกำเนิดโดยใช้ฮอร์โมนมีหลายแบบ เช่น [[ยาเม็ดคุมกำเนิด|ยาเม็ด]] [[ยาฝังคุมกำเนิด|ยาฝังใต้ผิวหนัง]] [[ยาฉีดคุมกำเนิด|ยาฉีด]] [[ยาแปะคุมกำเนิด|ยาแปะ]] [[ห่วงอนามัยคุมกำเนิด|ห่วงอนามัย]] และ[[วงแหวนช่องคลอด]] วิธีเหล่านี้ล้วนใช้ได้กับผู้หญิงเท่านั้น ส่วนสำหรับผู้ชายกำลังอยู่ในระยะทดสอบ<ref>{{cite news|last=Mackenzie|first=James|title=The male pill? Bring it on|url=https://www.theguardian.com/commentisfree/2013/dec/06/male-contraceptive-pill-bring-it-on|accessdate=May 20, 2014|newspaper=The Guardian|date=December 6, 2013|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20140521031817/http://www.theguardian.com/commentisfree/2013/dec/06/male-contraceptive-pill-bring-it-on|archivedate=May 21, 2014|df=mdy-all}}</ref> ยาเม็ดคุมกำเนิดมีอยู่สองชนิด แบบฮอร์โมนรวม (ซึ่งมีทั้ง[[เอสโตรเจน]]และโปรเจสติน) และแบบที่มีแค่โปรเจสตินอย่างเดียว<ref name="Ammer 2009a">{{cite book|last=Ammer|first=Christine|year=2009|chapter=oral contraceptive|title=The encyclopedia of women's health|edition=6th|location=New York|publisher=Facts On File|isbn=978-0-8160-7407-5|pages=312–315|chapterurl=https://books.google.com/books?id=_MRDimrELCIC&pg=PA312&vq=oral+contraceptive}}</ref> ยาทั้งสองแบบไม่มีผลต่อทารกในครรภ์หากรับประทานขณะตั้งครรภ์<ref name=WHO_FP2011p10 /> ยาคุมกำเนิดทั้งสองแบบป้องกันการปฏิสนธิโดยยับยั้งการตกไข่และเพิ่มความข้นของมูกช่องคลอดเป็นหลัก<ref name="Nelson 2011">{{cite book|last1=Nelson|first1=Anita L.|last2=Cwiak|first2=Carrie|year=2011|chapter=Combined oral contraceptives (COCs)|editor1-last=Hatcher|editor1-first=Robert A.|editor2-last=Trussell|editor2-first=James|editor3-last=Nelson|editor3-first=Anita L.|editor4-last=Cates|editor4-first=Willard Jr.|editor5-last=Kowal|editor5-first=Deborah|editor6-last=Policar|editor6-first=Michael S. |title=Contraceptive technology|edition=20th revised|location=New York|publisher=Ardent Media|pages=249–341|isbn=978-1-59708-004-0|issn=0091-9721|oclc=781956734}} pp. 257–258:</ref><ref name=Williams2011>{{cite book|author1=Barbara L. Hoffman|title=Williams gynecology|date=2011|publisher=McGraw-Hill Medical|location=New York|isbn=0-07-171672-6|edition=2nd|chapter=5 Second-Tier Contraceptive Methods—Very Effective}}</ref> ประสิทธิผลของยาข้นอยู่กับการที่ผู้ใช้รับประทานยาอย่างตรงเวลา<ref name=WHO_FP2011p10 /> โดยยาอาจส่งผลต่อเยื่อบุโพรงมดลูกทำให้ตัวอ่อนฝังตัวยากขึ้น<ref name=Williams2011 />
 
<!--Combined -->
ยาคุมกำเนิดชนิดฮอร์โมนรวมมีความสัมพันธ์กับความเสี่ยงของภาวะอุดตันของหลอดเลือดดำและหลอดเลือดแดงเล็กน้อย<ref name=Review2011 /> โดยเฉลี่ยภาวะหลอดเลือดดำอุดตันเพิ่มขึ้นจาก 2.8 เป็น 9.8 ต่อ 10,000 ปีผู้หญิง<ref>{{cite journal|last=Stegeman|first=BH|last2=de Bastos |first2=M |last3=Rosendaal |first3=FR |last4=van Hylckama Vlieg |first4=A |last5=Helmerhorst |first5=FM |last6=Stijnen |first6=T |last7=Dekkers |first7=OM|title=Different combined oral contraceptives and the risk of venous thrombosis: systematic review and network meta-analysis|journal=BMJ (Clinical research ed.)|date=Sep 12, 2013|volume=347|pages=f5298|pmid=24030561|doi=10.1136/bmj.f5298|pmc=3771677}}</ref> ซึ่งน้อยกว่าความสัมพันธ์กับการตั้งครรภ์<ref name=Review2011>{{cite journal|last=Brito|first=MB|last2=Nobre |first2=F |last3=Vieira |first3=CS|title=Hormonal contraception and cardiovascular system|journal=Arquivos brasileiros de cardiologia|date=April 2011|volume=96|issue=4|pages=e81–9|pmid=21359483|doi=10.1590/S0066-782X2011005000022|ref=harv}}</ref> เพราะเหตุนี้จึงไม่แนะนำให้ผู้หญิงอายุมากกว่า 35 ปีที่สูบบุหรี่รับประทานยาคุมกำเนิด<ref>{{cite journal|last1=Kurver|first1=Miranda J.|last2=van der Wijden|first2=Carla L.|last3=Burgers|first3=Jako|date=October 4, 2012|title=Samenvatting van de NHG-standaard ‘Anticonceptie’ [Summary of the Dutch College of General Practitioners' practice guideline 'Contraception']|journal=Nederlands Tijdschrift voor Geneeskunde|volume=156|issue=41|page=A5083|pmid=23062257|language=Dutch|url=http://www.ntvg.nl/publicatie/samenvatting-van-de-nhg-standaard-‘anticonceptie’}}</ref>
 
ยาอาจส่งผลกระทบต่อความต้องการทางเพศต่างกันในแต่ละคน โดยอาจเพิ่มหรือลด ทว่าส่วนใหญ่ไม่มีความเปลี่ยนแปลง<ref>{{cite journal|last=Burrows|first=LJ|author2=Basha, M |author3=Goldstein, AT |title=The effects of hormonal contraceptives on female sexuality: a review.|journal=The journal of sexual medicine|date=September 2012|volume=9|issue=9|pages=2213–23|pmid=22788250|doi=10.1111/j.1743-6109.2012.02848.x}}</ref> ยาคุมชนิดฮอร์โมนรวมลดความเสี่ยงของ[[มะเร็งรังไข่]]และ[[มะเร็งเยื่อบุมดลูก]]และไม่เพิ่มหรือลดความเสี่ยงของ[[มะเร็งเต้านม]]<ref name=Shulman2011 /><ref>{{cite journal|last=Havrilesky|first=LJ|last2=Moorman |first2=PG |last3=Lowery |first3=WJ |last4=Gierisch |first4=JM |last5=Coeytaux |first5=RR |last6=Urrutia |first6=RP |last7=Dinan |first7=M |last8=McBroom |first8=AJ |last9=Hasselblad |first9=V |last10=Sanders |first10=GD |last11=Myers |first11=ER|title=Oral Contraceptive Pills as Primary Prevention for Ovarian Cancer: A Systematic Review and Meta-analysis|journal=Obstetrics and gynecology|date=July 2013|volume=122|issue=1|pages=139–147|pmid=23743450|doi=10.1097/AOG.0b013e318291c235}}</ref> ยามักลดปริมาณประจำเดือนและลดอาการปวดประจำเดือน<ref name=WHO_FP2011p10>{{cite book|author=World Health Organization Department of Reproductive Health and Research|title=Family planning: A global handbook for providers: Evidence-based guidance developed through worldwide collaboration|year=2011|pages=1–10|publisher=WHO and Center for Communication Programs|location=Geneva, Switzerland|isbn=978-0-9788563-7-3|url=http://www.fphandbook.org/sites/default/files/hb_english_2012.pdf|edition=Rev. and Updated|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20130921054335/http://www.fphandbook.org/sites/default/files/hb_english_2012.pdf|archivedate=September 21, 2013|df=mdy-all}}</ref> วงแหวนช่องคลอดปล่อยเอสโตรเจนในระดับต่ำกว่าจึงอาจลดโอกาสของการเจ็บเต้านม คลื่นไส้ และปวดหัว<ref name=Shulman2011>{{cite journal|last=Shulman|first=LP|title=The state of hormonal contraception today: benefits and risks of hormonal contraceptives: combined estrogen and progestin contraceptives.|journal=American Journal of Obstetrics and Gynecology|date=October 2011|volume=205|issue=4 Suppl|pages=S9-13|pmid=21961825|doi=10.1016/j.ajog.2011.06.057}}</ref>
 
<!--Progestin -->
ยาคุมกำเนิดชนิดฮอร์โมนเดียว (โปรเจสติน), ยาคุมกำเนิดแบบฉีด, และห่วงอนามัยคุมกำเนิดไม่สัมพันธ์กับความเสี่ยงของภาวะอุดตันของหลอดเลือด และผู้หญิงที่มีภาวะหลอดเลือดดำอุดตันสามารถใช้ได้<ref name=Review2011 /><ref>{{cite journal|last=Mantha|first=S.|last2=Karp |first2=R. |last3=Raghavan |first3=V. |last4=Terrin |first4=N. |last5=Bauer |first5=K. A. |last6=Zwicker |first6=J. I.|title=Assessing the risk of venous thromboembolic events in women taking progestin-only contraception: a meta-analysis|journal=BMJ|date=August 7, 2012|volume=345|issue=aug07 2|pages=e4944–e4944|doi=10.1136/bmj.e4944|ref=harv|pmid=22872710|pmc=3413580}}</ref> ส่วนผู้มีประวัติหลอดเลือดแดงอุดตันควรใช้ยาคุมกำเนิดชนิดฮอร์โมนเดียวแบบใดก็ได้นอกจากแบบฉีด<ref name=Review2011 /> ยาเม็ดคุมกำเนิดชนิดฮอร์โมนเดียวอาจลดอาการประจำเดือน และหญิงที่กำลังให้นมลูกสามารถรับประทานยาคุมชนิดนี้ได้เนื่องจากไม่ส่งผลต่อการผลิตนม วิธีคุมกำเนิดแบบฮอร์โมนเดียวอาจส่งผลต่อประจำเดือน โดยผู้ใช้บางคนอาจไม่มีประจำเดือนเลย<ref name="pmid21961819">{{cite journal|last=Burke|first=AE|title=The state of hormonal contraception today: benefits and risks of hormonal contraceptives: progestin-only contraceptives.|journal=American Journal of Obstetrics and Gynecology|date=October 2011|volume=205|issue=4 Suppl|pages=S14-7|pmid=21961819|doi=10.1016/j.ajog.2011.04.033}}</ref> อัตราการล้มเหลวในปีแรกเมื่อใช้อย่างถูกต้องของโปรเจสตินแบบฉีดอยู่ที่ 0.2% และอยู่ที่ 6% ในการใช้แบบทั่วไป<ref name=Trus2011 />
 
บรรทัด 90:
ถุงยางอนามัยชายและฝาครอบปากมดลูกร่วมกับสารฆ่าเชื่ออสุจิมีอัตราการล้มเหลวในปีแรกเมื่อใช้อย่างทั่วไปอยู่ที่ 18% และ 12% ตามลำดับ<ref name=Trus2011 /> ในการใช้แบบถูกต้อง ถุงยางอนามัยมีประสิทธิผลสูงกว่า โดยมีอัตราการล้มเหลวในปีแรกอยู่ที่ 2% ส่วนฝาครอบปากมดลูกอยู่ที่ 6%<ref name=Trus2011 /> นอกจากนี้ถุงยางอนามัยยังสามารถช่วยป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เช่น[[เอดส์|โรคเอดส์]]<ref name=WHO_FP2011 />
 
ฟองน้ำคุมกำเนิดเป็นการใช้สิ่งกีดขวางร่วมกับสารฆ่าเชื้ออสุจิ<ref name=Will2012 /> ใช้โดยการใส่เข้าไปในช่องคลอดก่อนการมีเพศสัมพันธ์เช่นเดียวกับฝาครอบปากมดลูก และต้องวางบนปากมดลูกถึงจะใช้ได้<ref name=Will2012 /> อัตราการล้มเหลวในการใช้ปีแรกขึ้นอยู่กับว่าผู้หญิงที่ใช้เคยมีลูกหรือไม่ โดยอยู่ที่ 24% สำหรับผู้เคยมีลูก และ 12% สำหรับผู้ไม่เคยมี<ref name=Trus2011 /> สามารถใส่ฟองน้ำได้ถึง 24 ชั่วโมงก่อนมีเพศสัมพันธ์และต้องทิ้งไว้ในช่องคลอดไม่ต่ำกว่า 6 ชั่วโมงหลังร่วมเพศ<ref name=Will2012 /> นอกจากนี้ยังมีรายงานอาการแพ้<ref>{{cite journal|last=Kuyoh|first=MA|author2=Toroitich-Ruto, C |author3=Grimes, DA |author4=Schulz, KF |author5= Gallo, MF |title=Sponge versus diaphragm for contraception: a Cochrane review.|journal=Contraception|date=January 2003|volume=67|issue=1|pages=15–8|pmid=12521652 |doi=10.1016/s0010-7824(02)00434-1}}</ref> และผลข้างเคียงที่สาหัสอย่างอาการท็อกสิกช็อก (toxic shock syndrome)<ref>{{cite book|last=Organization|first=World Health|title=Medical eligibility criteria for contraceptive use|year=2009|publisher=Reproductive Health and Research, World Health Organization|location=Geneva|isbn=9789241563888|page=88|url=https://books.google.com/books?id=pouTfH33wF8C&pg=PA88|edition=4th|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20160515194650/https://books.google.com/books?id=pouTfH33wF8C&pg=PA88|archivedate=May 15, 2016|df=mdy-all}}</ref>
 
<gallery class="center" align="center">
บรรทัด 104:
[[ไฟล์:Tête de stérilet.jpg|thumb|ห่วงอนามัยคุมกำเนิดชนิดเคลือบทองแดงที่มีสายไว้ถอด]]
 
ในปัจจุบัน [[ห่วงอนามัยคุมกำเนิด]] (ไอยูดี) เป็นอุปกรณ์ขนาดเล็ก มักมีรูปตัว T และมักเคลือบด้วยทองแดงหรือฮอร์โมนลีโวนอร์เจสเตรล (levonorgestrel) ซึ่งใช้โดยการใส่เข้าไปในมดลูก นับเป็นวิธีคุมกำเนิดระยะยาวที่ย้อนกลับได้แบบหนึ่ง<ref>{{Cite journal |author1=Winner, B |author2=Peipert, JF |author3=Zhao, Q |author4=Buckel, C |author5=Madden, T |author6=Allsworth, JE |author7=Secura, GM. |year=2012 |title=Effectiveness of Long-Acting Reversible Contraception |journal=New England Journal of Medicine |volume=366 |issue=21 |pages=1998–2007 |doi=10.1056/NEJMoa1110855 |url=http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMoa1110855 |pmid=22621627 |deadurl=no |archiveurl=https://web.archive.org/web/20130218205303/http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMoa1110855 |archivedate=February 18, 2013 |df=mdy-all }}</ref> อัตราการล้มเหลวของห่วงคุมกำเนิดเคลือบทองแดงอยู่ที่ประมาณ 0.8% ส่วนแบบใช้ลีโวนอร์เจสเตรลมีอัตราการล้มเหลวอยู่ที่ 0.2% ในการใช้ปีแรก<ref name=Hopkins2010b>{{cite book|editor-last=Hurt|editor-first=K. Joseph|title=The Johns Hopkins manual of gynecology and obstetrics|publisher=Wolters Kluwer Health/Lippincott Williams & Wilkins|location=Philadelphia|isbn=978-1-60547-433-5|page=232|url=https://books.google.com/books?id=4Sg5sXyiBvkC&pg=PR232|edition=4th|others=Department of Gynecology and Obstetrics, The Johns Hopkins University School of Medicine, Baltimore Maryland|date=March 28, 2012|display-editors=etal|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20160512081611/https://books.google.com/books?id=4Sg5sXyiBvkC&pg=PR232|archivedate=May 12, 2016|df=mdy-all}}</ref> ผู้ใช้ห่วงอนามัยและยาคุมกำเนิดแบบฝังมีความพึงพอใจสูงสุดเมื่อเทียบกับผู้ใช้การคุมกำเนิดวิธีอื่น<ref name=Comm2012>{{cite journal|author=Committee on Adolescent Health Care Long-Acting Reversible Contraception Working Group, The American College of Obstetricians and Gynecologists|title=Committee opinion no. 539: adolescents and long-acting reversible contraception: implants and intrauterine devices.|journal=Obstetrics and gynecology|date=October 2012|volume=120|issue=4|pages=983–8|pmid=22996129|doi=10.1097/AOG.0b013e3182723b7d}}</ref> ณ พ.ศ. 2550 ห่วงอนามัยเป็นวิธีคุมกำเนิดแบบย้อนกลับได้ที่ถูกใช้มากที่สุด และมีผู้ใช้กว่า 180 ล้านคนทั่วโลก<ref name=Darney2010>{{cite book|last=Darney|first=Leon Speroff, Philip D.|title=A clinical guide for contraception|year=2010|publisher=Lippincott Williams & Wilkins|location=Philadelphia, Pa.|isbn=978-1-60831-610-6|pages=242–243|url=https://books.google.com/books?id=f5XJtYkiJ0YC&pg=PT425|edition=5th|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20160506220517/https://books.google.com/books?id=f5XJtYkiJ0YC&pg=PT425|archivedate=May 6, 2016|df=mdy-all}}</ref>
 
หลักฐานชี้ว่าห่วงอนามัยปลอดภัยและมีประสิทธิผลดีเมื่อใช้กับวัยรุ่น<ref name=Comm2012 /> และคนที่ไม่เคยมีลูก<ref>{{cite journal|last=Black|first=K|last2=Lotke |first2=P |last3=Buhling |first3=KJ |last4=Zite |first4=NB |last5=Intrauterine contraception for Nulliparous women: Translating Research into Action (INTRA), group|title=A review of barriers and myths preventing the more widespread use of intrauterine contraception in nulliparous women.|journal=The European Journal of Contraception & Reproductive Health Care|date=October 2012|volume=17|issue=5|pages=340–50|pmid=22834648|doi=10.3109/13625187.2012.700744 |pmc=4950459}}</ref> ห่วงอนามัยไม่ส่งผลกระทบต่อการให้นมลูก และสามารถติดตั้งได้ทันทีหลังให้กำเนิดบุตร<ref name=Gabbe2012>{{cite book|last=Gabbe|first=Steven|title=Obstetrics: Normal and Problem Pregnancies|year=2012|publisher=Elsevier Health Sciences|isbn=978-1-4557-3395-8|page=527|url=https://books.google.com/books?id=x3mJpT2PkEUC&pg=PA527|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20160515213803/https://books.google.com/books?id=x3mJpT2PkEUC&pg=PA527|archivedate=May 15, 2016|df=mdy-all}}</ref> นอกจากนี้ยังสามารถใช้ได้ทันทีหลัง[[การทำแท้ง|ทำแท้ง]]<ref>{{cite journal|last=Steenland|first=MW|author2=Tepper, NK |author3=Curtis, KM |author4= Kapp, N |title=Intrauterine contraceptive insertion postabortion: a systematic review.|journal=Contraception|date=November 2011|volume=84|issue=5|pages=447–64|pmid=22018119|doi=10.1016/j.contraception.2011.03.007}}</ref> เมื่อถอดออกภาวะเจริญพันธุ์จะกลับมาปกติทันทีแม้จะเคยใช้มาเป็นเวลานาน<ref>{{cite book|editor=Tommaso Falcone|editor2=William W. Hurd|title=Clinical reproductive medicine and surgery|year=2007|publisher=Mosby|location=Philadelphia|isbn=978-0-323-03309-1|page=409|url=https://books.google.com/books?id=fOPtaEIKvcIC&pg=PA409|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20160617031849/https://books.google.com/books?id=fOPtaEIKvcIC&pg=PA409|archivedate=June 17, 2016|df=mdy-all}}</ref>
บรรทัด 112:
=== การทำหมัน ===
 
[[การทำหมัน]]มีทั้ง[[การผูกท่อรังไข่]]สำหรับผู้หญิงและ[[การตัดหลอดนำอสุจิ]]สำหรับผู้ชาย<ref name=Hopkins2010 /> ทั้งคู่ไม่มีผลข้างเคียงระยะยาว และการผูกท่อรังไข่สามารถลดความเสี่ยง[[มะเร็งรังไข่]]<ref name="Hopkins2010" /> การตัดหลอดนำอสุจิมีโอกาสการเกิดภาวะแทรกซ้อนน้อยกว่าการผูกท่อรังไข่ถึง 20 เท่า<ref name="Hopkins2010" /><ref>{{cite journal |vauthors=Adams CE, Wald M |title=Risks and complications of vasectomy |journal=Urol. Clin. North Am. |volume=36 |issue=3 |pages=331–6 |date=August 2009 |pmid=19643235 |doi=10.1016/j.ucl.2009.05.009 |url=}}</ref> หลังการตัดหลอดนำอุจิถุงอัณฑะอาจมีอาการบวมหรือเจ็บทว่าอาการมักดีขึ้นภายในหนึ่งถึงสองสัปดาห์<ref>{{cite book |author=Hillard, Paula Adams |title=The 5-minute obstetrics and gynecology consult |publisher=Lippincott Williams & Wilkins |location=Hagerstwon, MD |year=2008 |page=265 |isbn=0-7817-6942-6 |url=https://books.google.com/books?id=fOoFIQOdIhkC&pg=PA265 |deadurl=no |archiveurl=https://web.archive.org/web/20160611045006/https://books.google.com/books?id=fOoFIQOdIhkC&pg=PA265 |archivedate=June 11, 2016 |df=mdy-all }}</ref> ส่วนการผูกท่อรังไข่มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อน 1–2% โดยภาวะแทรกซ้อนรุนแรงมักเกิดขึ้นจากการวางยาสลบ<ref>{{cite book |author=Hillard, Paula Adams |title=The 5-minute obstetrics and gynecology consult |publisher=Lippincott Williams & Wilkins |location=Hagerstwon, MD |year=2008 |page=549 |isbn=0-7817-6942-6 |url=https://books.google.com/books?id=fOoFIQOdIhkC&pg=PA549 |deadurl=no |archiveurl=https://web.archive.org/web/20160505132817/https://books.google.com/books?id=fOoFIQOdIhkC&pg=PA549 |archivedate=May 5, 2016 |df=mdy-all }}</ref> การทำหมันไม่ป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์<ref name=Hopkins2010 />
 
หลายคนอาจรู้สึกเสียดายหลังทำหมัน ประมาณ 5% ของผู้หญิงที่ทำหมันซึ่งมีอายุมากกว่า 30 ปี เสียใจกับการตัดสินใจของตน และประมาณ 20% ของหญิงอายุต่ำกว่า 30 ปี รู้สึกเสียดาย<ref name=Hopkins2010 /> ในทางตรงกันข้าม ผู้ชายน้อยกว่า 5% รู้สึกเสียใจที่ทำหมัน โดยผู้ชายที่รู้สึกเสียดายมักอายุน้อย มีลูกที่ยังเด็ก ไม่มีลูก หรือมีปัญหากับชีวิตคู่หลังแต่งงาน<ref>{{cite book|last=Hatcher|first=Robert|title=Contraceptive technology|year=2008|publisher=Ardent Media|location=New York, N.Y.|isbn=978-1-59708-001-9|page=390|url=https://books.google.com/books?id=txh0LpjjhkoC&pg=PA390|edition=19th|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20160506181510/https://books.google.com/books?id=txh0LpjjhkoC&pg=PA390|archivedate=May 6, 2016|df=mdy-all}}</ref> แบบสอบถามพบว่า 9% ของพ่อแม่ที่แท้จริงกล่าวว่าหากย้อนเวลาได้พวกเขาจะเลือกไม่มีลูก<ref>{{cite book|last=Moore|first=David S.|title=The basic practice of statistics|year=2010|publisher=Freeman|location=New York|isbn=978-1-4292-2426-0|page=25|url=https://books.google.com/books?id=JOMQKI8zj_EC&pg=PR25|edition=5th|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20160427122639/https://books.google.com/books?id=JOMQKI8zj_EC&pg=PR25|archivedate=April 27, 2016|df=mdy-all}}</ref>
บรรทัด 146:
{{หลัก|การคุมกำเนิดฉุกเฉิน}}
[[ไฟล์:Emergency contraceptive (cropped).jpg|thumb|[[การคุมกำเนิดฉุกเฉิน|ยาคุมกำเนิดฉุกเฉิน]]สองเม็ด|alt=emergency contraceptive pills]]
[[การคุมกำเนิดฉุกเฉิน]]คือการใช้ยาเม็ด (ยาคุมกำเนิดฉุกเฉิน)<ref>{{cite web|author1=Office of Population Research|author2=Association of Reproductive Health Professionals|date=July 31, 2013|title=What is the difference between emergency contraception, the 'morning after pill', and the 'day after pill'?|location=Princeton|publisher=Princeton University|url=http://ec.princeton.edu/questions/morningafter.html|accessdate=September 7, 2013|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20130923062617/http://ec.princeton.edu/questions/morningafter.html|archivedate=September 23, 2013|df=mdy-all}}</ref> หรืออุปกรณ์หลังมีเพศสัมพันธ์อย่างไม่ป้องกัน เพื่อลดโอกาสการตั้งครรภ์<ref name=Gizzo2012 /> มักทำงานโดยป้องกันการตกไข่หรือการปฏิสนธิ<ref name=Hopkins2010 /><ref name=Leu2010>{{cite journal|last1=Leung|first1=Vivian W Y|last2=Levine|first2=Marc|last3=Soon|first3=Judith A|title=Mechanisms of Action of Hormonal Emergency Contraceptives|journal=Pharmacotherapy|date=February 2010|volume=30|issue=2|pages=158–168|doi=10.1592/phco.30.2.158|quote=The evidence strongly supports disruption of ovulation as a mechanism of action. The data suggest that emergency contraceptives are unlikely to act by interfering with implantation|pmid=20099990}}</ref> ปกติแล้วจะไม่ส่งผลกระทบต่อการฝังตัวของตัวอ่อน<ref name=Leu2010/> วิธีคุมกำเนิดฉุกเฉินมีหลายแบบ เช่น การใช้ยาเม็ดคุมกำเนิดในปริมาณมาก ฮอร์โมนลีโวนอร์เจสเตรล ยาไมฟีพริสโทน และห่วงอนามัยคุมกำเนิด<ref name=CochEmerg2012>{{cite journal|last=Cheng|first=L|author2=Che, Y |author3=Gülmezoglu, AM |title=Interventions for emergency contraception.|journal=Cochrane Database of Systematic Reviews|date=Aug 15, 2012|volume=8|pages=CD001324|pmid=22895920|doi=10.1002/14651858.CD001324.pub4}}</ref> ยาเม็ดที่มีลีโวนอร์เจสเตรลลดโอกาสการตั้งครรภ์ถึง 70% เมื่อรับประทานภายใน 3 วันหลังร่วมเพศโดยไม่ป้องกันหรือหากถุงยางอนามัยรั่ว (มีโอกาสตั้งครรภ์ 2.2%)<ref name=Gizzo2012 /> ส่วนยาอีกตัวหนึ่งที่เรียกว่า ulipristal ลดโอกาสตั้งกันประมาณ 85% เมื่อรับประทานภายใน 5 วันหลังร่วมเพศ (มีโอกาสตั้งครรภ์ 1.4%)<ref name=Gizzo2012 /><ref name=CochEmerg2012 /><ref>{{cite journal|last=Richardson|first=AR|author2=Maltz, FN|title=Ulipristal acetate: review of the efficacy and safety of a newly approved agent for emergency contraception.|journal=Clinical therapeutics|date=January 2012|volume=34|issue=1|pages=24–36|pmid=22154199|doi=10.1016/j.clinthera.2011.11.012}}</ref> ยาไมฟีพริสโทนมีประสิทธิผลสูงกว่ายาเม็ดที่มีลีโวนอร์เจสเตรล และห่วงอนามัยเคลือบทองแดงเป็นวิธีคุมกำเนิดแบบฉุกเฉินที่ให้ประสิทธิผลสูงสุด<ref name=CochEmerg2012 /> ห่วงอนามัยป้องกันการตั้งครรภ์ได้มากกว่า 99% หากใส่ภายใน 5 วันหลังร่วมเพศ (มีโอกาสตั้งครรภ์ 0.1–2%)<ref name=Hopkins2010 /><ref>{{cite web|title=Update on Emergency Contraception|url=http://www.arhp.org/Publications-and-Resources/Clinical-Proceedings/EC/Effectiveness|publisher=Association of Reproductive Health Professionals|accessdate=May 20, 2013|date=March 2011|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20130511124153/http://www.arhp.org/Publications-and-Resources/Clinical-Proceedings/EC/Effectiveness|archivedate=May 11, 2013|df=mdy-all}}</ref><ref name=Cleland2012>{{cite journal |vauthors=Cleland K, Zhu H, Goldstruck N, Cheng L, Trussel T |year=2012 |title=The efficacy of intrauterine devices for emergency contraception: a systematic review of 35 years of experience |journal=Human Reproduction |volume=27 |issue=7 |pages=1994–2000 |doi=10.1093/humrep/des140 |pmid=22570193 |ref=harv}}</ref> ยาที่มีลีโวนอร์เจสเตรลอาจมีประสิทธิผลต่ำกว่าเมื่อใช้โดยผู้มีโรคอ้วนหรือน้ำหนักเกิน จึงแนะนำให้ใช้ห่วงอนามัยหรือ ulipristal แทน<ref>{{cite journal|last=Glasier|first=A|author2=Cameron, ST |author3=Blithe, D |author4=Scherrer, B |author5=Mathe, H |author6=Levy, D |author7=Gainer, E |author8= Ulmann, A |title=Can we identify women at risk of pregnancy despite using emergency contraception? Data from randomized trials of ulipristal acetate and levonorgestrel.|journal=Contraception|date=Oct 2011|volume=84|issue=4|pages=363–7|pmid=21920190|doi=10.1016/j.contraception.2011.02.009}}</ref>
 
=== การป้องกันสองชั้น ===
บรรทัด 209:
ณ พ.ศ. 2555 ร้อยละ 57 ของผู้หญิงวัยเจริญพันธุ์ต้องการที่จะหลีกเลี่ยงการตั้งครรภ์ (867 ล้านคนจาก 1,520 ล้านคน)<ref name=Dar2013 /> ผู้หญิงประมาณ 222 ล้านคนไม่สามารถเข้าถึงการคุมกำเนิด ในจำนวนนี้ 53 ล้านคนอาศัยอยู่ที่แถบ[[แอฟริกาใต้สะฮารา]]และ 97 ล้านคนอาศัยอยู่ในแถบเอเชีย<ref name=Dar2013>{{cite journal|last=Darroch|first=JE|author2=Singh, S|title=Trends in contraceptive need and use in developing countries in 2003, 2008, and 2012: an analysis of national surveys.|journal=Lancet|date=May 18, 2013|volume=381|issue=9879|pages=1756–1762|pmid=23683642|doi=10.1016/S0140-6736(13)60597-8}}</ref> สิ่งนี้ก่อให้เกิดการตั้งครรภ์ที่ไม่ได้วางแผนจำนวน 54 ล้านครั้ง และนำไปสู่การตายของมารดาจำนวนเกือบ 80,000 รายต่อปี<ref name=Darroch2013 /> ผู้หญิงหลายคนไม่สามารถเข้าถึงวิธีคุมกำเนิดด้วยข้อจำกัดทางศาสนาหรือทางการเมือง<ref name=Hopkins2010 /> อีกเหตุผลนึงคือ[[ความยากจน]]<ref name=Rasch2011 /> ผู้หญิงหลายคนในแถบ[[แอฟริกาใต้สะฮารา]]หันไปหาการทำแท้งเถื่อนหลังตั้งครรภ์โดยไม่ได้วางแผนเนื่องจากกฎหมายเกี่ยวกับการทำแท้งที่เข้มงวด ทำให้ผู้หญิงประมาณ 2–4% ในหนึ่งปีทำแท้งอย่างไม่ปลอดภัย<ref name=Rasch2011>{{cite journal|last=Rasch|first=V|title=Unsafe abortion and postabortion care -an overview.|journal=Acta Obstetricia et Gynecologica Scandinavica|date=July 2011|volume=90|issue=7|pages=692–700|pmid=21542813|doi=10.1111/j.1600-0412.2011.01165.x}}</ref>
 
== ประวัติ ==
 
=== ประวัติยุคแรกเริ่ม ===
บรรทัด 215:
[[ไฟล์:Silphium.jpg|thumb|upright=1.3|alt=ancient coin depicting silphium|เหรียญเงินโบราณจาก[[ซิเรเน]]แสดงรูปก้านของต้นซิลเฟียม (silphium)]]
 
[[พาไพรัส (กระดาษ)|พาไพรัส]]อีเบอร์ส์ (Ebers Papyrus) แห่งอียิปต์จาก 1550 ปีก่อนคริสตกาลและพาไพรัสคาฮุน (Kahun Papyrus) จาก 1850 ปีก่อนคริสตกาลได้บันทึกการคุมกำเนิดที่ถือได้ว่าเป็นหนึ่งในวิธีที่เก่าแก่ที่สุด โดยการใช้น้ำผึ้ง ใบจากต้น[[อาเคเชีย]] และผ้าพันแผลใส่เข้าไปในช่องคลอดเพื่อกีดขวางน้ำอสุจิ .<ref name="History2010">{{cite book|last=Cuomo|first=Amy|chapter=Birth control|editor-last=O'Reilly|editor-first=Andrea|title=Encyclopedia of motherhood|year=2010|publisher=Sage Publications|location=Thousand Oaks, Calif.|isbn=978-1-4129-6846-1|pages=121–126|chapterurl=https://books.google.com/books?id=Pcxqzal4bEYC&pg=PA124}}</ref><ref name="Lipsey2005">{{cite book|last1=Lipsey |first1= Richard G.|last2=Carlaw |first2=Kenneth|last3=Bekar |first3=Clifford|chapter=Historical Record on the Control of Family Size|chapterurl=https://books.google.com/books?id=tSrGTMtBv50C&pg=PA335|pages=335–40|title=Economic Transformations: General Purpose Technologies and Long-Term Economic Growth|publisher=Oxford University Press |year=2005|isbn=978-0-19-928564-8}}</ref> เชื่อกันว่าต้น[[ซิลเฟียม]] (silphium) แห่งกรีซโบราณถูกใช้เพื่อคุมกำเนิด และด้วยประสิทธิผลและความต้องการทำให้มันสูญพันธุ์ไปในที่สุด<ref>{{cite book|author=unspecified|chapter=Herbal contraceptives and abortifacients|editor-last=Bullough|editor-first=Vern L.|title=Encyclopedia of birth control|year=2001|publisher=ABC-CLIO|location=Santa Barbara, Calif.|isbn=978-1-57607-181-6|pages=125–128|url=https://books.google.com/books?id=XuX-MGTZnJoC&pg=PA125|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20161116211222/https://books.google.com/books?id=XuX-MGTZnJoC&pg=PA125|archivedate=November 16, 2016|df=mdy-all}}</ref>
 
ในสมัยกลางของยุโรป การกระทำเพื่อหยุดยั้งการตั้งครรภ์ถูก[[โรมันคาทอลิก|พระศาสนจักรคาทอลิก]]มองว่าผิดศีลธรรม<ref name="History2010" /> ทว่าเชื่อกันว่าสมัยน้นผู้หญิงยังคงใช้การคุมกำเนิดรูปแบบต่าง ๆ เช่น [[การหลั่งนอกช่องคลอด|การหลั่งนอก]]และการใส่รากต้นลิลีเข้าไปในช่องคลอด<ref>{{cite book|last=McTavish|first=Lianne|chapter=Contraception and birth control|editor-last=Robin|editor-first=Diana|title=Encyclopedia of women in the Renaissance : Italy, France, and England|year=2007|publisher=ABC-CLIO|location=Santa Barbara, Calif.|isbn=978-1-85109-772-2|pages=91–92|chapterurl=https://books.google.com/books?id=OQ8mdTjxungC&pg=PA91}}</ref> ผู้หญิงในสมัยกลางยังมักถูกแนะนำให้มัดลูกอัณฑะ[[เพียงพอน]]ไว้ที่ต้นขาระหว่างมีเพศสัมพันธ์เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์<ref name=":0">{{Cite journal|title = A History of Birth Control Methods|date = January 2012|journal = Planned Parenthood Report|doi = |pmid = |url = https://www.plannedparenthood.org/files/2613/9611/6275/History_of_BC_Methods.pdf|deadurl = no|archiveurl = https://web.archive.org/web/20151106071418/https://www.plannedparenthood.org/files/2613/9611/6275/History_of_BC_Methods.pdf|archivedate = November 6, 2015|df = mdy-all}}</ref> ถุงยางอนามัยซึ่งเก่าแก่ที่สุดถูกพบในซากปราสาทดัดลีย์ในประเทศอังกฤษ และคาดว่ามาจาก ค.ศ. 1640<ref name=":0" /> โดยทำจากลำไส้สัตว์และคาดว่ายังถูกใช้ป้องกันการติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ระหว่าง[[สงครามกลางเมืองอังกฤษ]]<ref name=":0" />
บรรทัด 227:
การเคลื่อนไหวทางการคุมกำเนิดพัฒนาขึ้นระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20<ref>{{cite journal|last=Hartmann|first=B|title=Population control I: Birth of an ideology.|journal=International Journal of Health Services|year=1997|volume=27|issue=3|pages=523–40|pmid=9285280|doi=10.2190/bl3n-xajx-0yqb-vqbx}}</ref> Malthusian League ตั้งขึ้นบนฐานความคิดของ [[ทอมัส โรเบิร์ต มาลธัส|ทอมัส มาลธัส]]ใน ค.ศ. 1877 ที่สหราชอาณาจักร เพื่อให้ความรู้แก่สาธารณชนเกี่ยวกับความสำคัญของ[[การวางแผนครอบครัว]]และยังสนับสนุนให้เลิกลงโทษผู้ที่ส่งเสริมการคุมกำเนิด<ref>{{cite journal |url=https://books.google.com/books?id=e1c6OjifgyYC&pg=PA221&lpg=PA221 |title=Review: A History of the Malthusian League 1877–1927 |journal=New Scientist |author=Simms, Madeleine |date=January 27, 1977 |deadurl=no |archiveurl=https://web.archive.org/web/20160505021719/https://books.google.com/books?id=e1c6OjifgyYC&pg=PA221&lpg=PA221 |archivedate=May 5, 2016 |df=mdy-all }}</ref> มาร์กาเร็ต แซนเกอร์ และ ออตโต บ็อบเซน ทำให้คำว่า "การคุมกำเนิด" เป็นที่รู้จักใน ค.ศ. 1914<ref name="Wilk2004">{{Cite book| last = Wilkinson Meyer| first = Jimmy Elaine| title = Any friend of the movement: networking for birth control, 1920–1940| publisher = Ohio State University Press| year = 2004| page = 184| url = https://books.google.com/books?id=bdl78Y2eRcEC&pg=PA184| isbn = 978-0-8142-0954-7| deadurl = no| archiveurl = https://web.archive.org/web/20140103122651/http://books.google.com/books?id=bdl78Y2eRcEC&pg=PA184| archivedate = January 3, 2014| df = mdy-all}}</ref><ref name="Galvin">{{Cite journal| last = Galvin| first = Rachel| title = Margaret Sanger's "Deeds of Terrible Virtue"| journal = National Endowment for the Humanities| url = http://www.neh.gov/humanities/1998/septemberoctober/feature/margaret-sangers-deeds-terrible-virtue| year = 1998| deadurl = no| archiveurl = https://web.archive.org/web/20131001164818/http://www.neh.gov/humanities/1998/septemberoctober/feature/margaret-sangers-deeds-terrible-virtue| archivedate = October 1, 2013| df = mdy-all}}</ref> หลัก ๆ แล้วแซนเกอร์สนับสนุนการคุมกำเนิดเพราะเป็นการป้องกันไม่ให้ผู้หญิงไปทำแท้งอย่างไม่ปลอดภัย ทว่าเธอมักรณรงค์ว่าการคุมกำเนิดลดข้อบกพร่องทางกายและทางจิต<ref>{{cite book|last1=Rossi|first1=Alice|title=The Feminist Papers|date=1988|publisher=Northeastern University Press|location=Boston|isbn=9781555530280|page=523}}</ref><ref name="NYU2017" /> ส่วนใหญ่เธอเคลื่อนไหวภายในสหรัฐอเมริกา ต่อมาในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1930 เธอเริ่มมีชื่อเสียงระดับนานาชาติ ในช่วงนั้นมีการใช้กฎหมายเกี่ยวกับระเบียบอันเคร่งครัด (Comstock Law) ทำให้การแจกจ่ายวิธีคุมกำเนิดเป็นเรื่องผิดกฎหมาย เธอได้รับการประกันตัวใน ค.ศ. 1914 หลังถูกจับข้อหาแจกจ่ายข้อมูลเกี่ยวกับการคุมกำเนิด และย้ายออกจากสหรัฐไปยังสหราชอาณาจักร<ref>{{cite book|author1=Karen Pastorello|title=The Progressives: Activism and Reform in American Society, 1893–1917|date=2013|publisher=John Wiley & Sons|isbn=978-1-118-65112-4|page=65|url=https://books.google.com/books?id=OpMYAgAAQBAJ&pg=PT65|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20160604052259/https://books.google.com/books?id=OpMYAgAAQBAJ&pg=PT65|archivedate=June 4, 2016|df=mdy-all}}</ref> ในสหราชอาณาจักรแซงเกอร์ยังคงต่อสู้เพื่อการคุมกำเนิด โดยได้รับแรงบันดาลใจจาก Havelock Ellis เธอเชื่อว่าผู้หญิงต้องสามารถร่วมเพศอย่างมีความสุขโดยไม่ต้องกังวลว่าจะตั้งครรภ์ ระหว่างใช้ชีวิตอยู่ในต่างประเทศ แซงเกอร์เห็นฝาครอบปากมดลูกที่มาความยืดหยุ่นมากกว่าเดิมในคลินิกดัชแห่งนึง เธอคิดว่ามันเป็นวิธีคุมกำเนิดที่ดีกว่า<ref name="NYU2017" /> เมื่อแซงเกอร์กลับไปที่สหรัฐ เธอก่อตั้งคลินิกใน[[บรุกลิน]] รัฐนิวยอร์กโดยได้รับความช่วยเหลือจากน้องสาว Ethel Bryne<ref>{{Cite book|title = Birth Control|last = Zorea|first = Aharon|publisher = Greenwood|year = 2012|isbn = 978-0-313-36254-5|location = Santa Barbara, California|page = 43}}</ref> ใน ค.ศ. 1916 แต่ว่าเพียง 11 วันต่อมาก็ถูกปิดตัวลง ซ้ำเธอยังโดนจับกุม<ref name="Baker2012">{{cite book|last=Baker|first=Jean H.|title=Margaret Sanger : a life of passion|year=2012|isbn=978-1-4299-6897-3|pages=115–117|url=https://books.google.com/books?id=u7pgCFIcH2cC&lpg=PA335&vq=115&dq=Mararet%20Sanger%20%3A%20a%20life%20of%20passion&pg=PA115|edition=First pbk.|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20160504215433/https://books.google.com/books?id=u7pgCFIcH2cC&lpg=PA335&vq=115&dq=Mararet%20Sanger%20%3A%20a%20life%20of%20passion&pg=PA115|archivedate=May 4, 2016|df=mdy-all}}</ref> ความโด่งดังของการเข้าจับกุม การสู้คดี และการอุทธรณ์จุดประกายให้เกิดผู้ยึดถือทฤษฎีเกี่ยวกับการคุมกำเนิดขึ้นทั่วสหรัฐ<ref>{{cite book |author=McCann, Carole Ruth |year=2010 |contribution=Women as Leaders in the Contraceptive Movement |title=Gender and Women's Leadership: A Reference Handbook |editor=Karen O'Connor |publisher=SAGE |page=751 |oclc=568741234 |url=https://books.google.com/books?id=eH9NNHzY4lUC&lpg=PA290&vq=173&pg=PA173#v=onepage&q&f=false |deadurl=no |archiveurl=https://web.archive.org/web/20160610061703/https://books.google.com/books?id=eH9NNHzY4lUC&lpg=PA290&vq=173&pg=PA173#v=onepage&q&f=false |archivedate=June 10, 2016 |df=mdy-all }}</ref> นอกจากน้องสาวของเธอแล้ว แซงเกอร์ยังได้รับความช่วยเหลือจากสามีคนแรก วิลเลียม แซงเกอร์ และสามีคนที่สอง James Noah H. Slee<ref name="NYU2017">{{cite web|title=Biographical Sketch|url=https://www.nyu.edu/projects/sanger/aboutms/|website=About Sanger|publisher=New York University|accessdate=24 February 2017|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20170628004840/http://www.nyu.edu/projects/sanger/aboutms/|archivedate=June 28, 2017|df=mdy-all}}</ref>
 
คลินิกถาวรเพื่อการคุมกำเนิดแห่งแรกถูกก่อตั้งขึ้นใน พ.ศ. 2464 ณ ประเทศอังกฤษ โดย มารี สโตปส์ (Marie Stopes)<ref>{{cite book|author=Hall, Ruth |title=Passionate Crusader |publisher=Harcourt, Brace, Jovanovich |year=1977 |page=186}}</ref> ดำเนินการโดยนางผดุงครรภ์และได้รับการสนับสนุนจากแพทย์รับเชิญ<ref>{{cite book |author=Marie Carmichael Stopes |title=The First Five Thousand |year=1925 |publisher=John Bale, Sons & Danielsson |location=London |oclc=12690936 |page=9}}</ref> คลินิกเป็นที่ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการคุมกำเนิดแก่ผู้หญิงและยังสอนเกี่ยวกับการใช้[[หมวกครอบปากมดลูก]] คลินิกของเธอทำให้การคุมกำเนิดเป็นที่ยอมรับในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1920 โดยการใช้คำศัพท์ทางวิทยาศาสตร์ สโตรปส์และผู้นำ[[คตินิยมสิทธิสตรี]]ผู้อื่นทำหน้าที่สำคัญในการทำลายข้อห้ามเกี่ยวกับเซ็กส์ ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1930 การประชุมการคุมกำเนิดได้รวบรวมตัวแทน 700 คน และนำการคุมกำเนิดและการทำแท้งเข้าสู่โลกทางการเมือง สามเดือนต่อมา กระทรวงสาธารณสุขในสหราชอาณาจักรอนุญาตให้องค์การรัฐวิสาหกิจท้องถิ่นให้คำแนะนำเกี่ยวกับการคุมกำเนิดในศูนย์สวัสดิการ<ref>{{cite book|last=Hall|first=Lesley|title=The life and times of Stella Browne : feminist and free spirit|location=London|publisher=I. B. Tauris|year=2011|page=173 |isbn=978-1-84885-583-0 }}</ref>
 
ใน ค.ศ. 1936 ศาลสหรัฐให้การตัดสินในคดี [[:en:U.S. v. One Package|U.S. v. One Package]] ว่าการจ่ายอุปกรณ์ทางการแพทย์เพื่อช่วยชีวิตหรือพัฒนาความเป็นอยู่ของคนไข้ไม่ถือว่าขัดกับกฎหมายเกี่ยวกับระเบียบอันเคร่งครัด ผสการสำรวจระดับชาติใน ค.ศ. 1937 ชี้ว่า 71% ของผู้ใหญ่สนับสนุนการคุมกำเนิด ใน ค.ศ. 1938 สหรัฐมีคลินิกคุมกำเนิดทั้งหมด 347 แห่ง แม้การโฆษณาเกี่ยวกับคลินิกยังถือว่าผิดกฎหมาย [[เอลานอร์ รูสเวลต์]] (Eleanor Roosevelt) อดีตสตรีหมายเลขหนึ่งสนับสนุนการคุมกำเนิดและการวางแผนครอบครัวอย่างเปิดเผย<ref>{{cite book|author1=Alesha Doan|title=Opposition and Intimidation: The Abortion Wars and Strategies of Political Harassment|date=2007|publisher=University of Michigan Press|isbn=978-0-472-06975-0|pages=53–54|url=}}</ref> ใน ค.ศ. 1966 ประธานาธิบดี [[ลินดอน บี. จอห์นสัน]] กล่าวสนับสนุนการจัดหาเงินทุนสาธารณะสำหรับบริการวางแผนครอบครัว และรัฐบาลกลางสหรัฐยังเริ่มสงเคราะห์เงินช่วยเหลือบริการคุมกำเนิดแก่ครอบครัวรายได้น้อย<ref>{{Cite journal|url = |title = History of Birth Control in the United States|date = 2012|journal = Congressional Digest|doi = |pmid = |access-date = }}</ref> [[รัฐบัญญัติคุ้มครองผู้ป่วยและการบริบาลที่เสียได้]]ถูกลงนามเป็นกฎหมายเมื่อมีนาคม ค.ศ. 2010 ภายใต้ประธานาธิบดี [[บารัก โอบามา]] และกำหนดให้แผนประกันสุขภาพทุกแบบครอบคลุมวิธีคุมกำเนิด รวมถึง วิธีที่ใช้สิ่งกีดขวาง วิธีที่ใช้ฮอร์โมน อุปกรณ์ฝัง การคุมกำเนิดแบบฉุกเฉิน และการทำหมัน<ref>{{cite web|title = Birth control benefits and reproductive health care options in the Health Insurance Marketplace|url = https://www.healthcare.gov/coverage/birth-control-benefits/|website = HealthCare.gov|access-date = February 17, 2016|deadurl = no|archiveurl = https://web.archive.org/web/20160212171037/https://www.healthcare.gov/coverage/birth-control-benefits/|archivedate = February 12, 2016|df = mdy-all}}</ref>
บรรทัด 238:
 
=== ตำแหน่งทางกฎหมาย ===
ข้อตกลง[[สิทธิมนุษยชน]]กำหนดให้รัฐบาลส่วนใหญ่จัดหาบริการเกี่ยวกับการวางแผนครอบครัวและข้อมูลเกี่ยวกับการคุมกำเนิดให้กับประชาชน<!-- <ref name="hrintlaw" /> --> รวมถึงข้อกำหนดของการวางแผนชาติสำหรับการให้บริการวางแผนครอบครัว การยกเลิกกฎหมายที่จำกัดการเข้าถึงการวางแผนครอบครัว การรับรองการเข้าถึงวิธีคุมกำเนิดหลากหลายวิธีซึ่งปลอดภัยและมีประสิทธิภาพรวมถึงการคุมกำเนิดแบบฉุกเฉิน การทำให้แน่ใจว่ามีผู้ให้บริการทางการแพทย์และสิ่งอำนวยความสะดวกในราคาที่เหมาะสม และสร้างระบบเพื่อทบทวนโครงการที่ได้นำไปใช้<!-- <ref name="hrintlaw" /> --> รัฐบาลที่ไม่สามารถสนองข้อกำหนดเหล่านี้อาจถูกจัดว่าได้ละเมิดสนธิสัญญาระหว่างประเทศ<ref name="hrintlaw">{{cite journal |author1=Cottingham J. |author2=Germain A. |author3=Hunt P. | year = 2012 |title = Use of human rights to meet the unmet need for family planning | url = | journal = The Lancet | volume = 380 | issue = 9837| pages = 172–180 | doi = 10.1016/S0140-6736(12)60732-6 | pmid = 22784536 | ref = harv }}</ref>
 
=== มุมมองทางศาสนา ===
บรรทัด 249:
=== ความเชื่อผิด ๆ ===
 
มีหลายความเชื่อเกี่ยวกับเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ซึ่งไม่ถูกต้อง<ref>{{cite book|last=Hutcherson|first=Hilda|title=What your mother never told you about s.e.x|year=2002|publisher=Perigee Book|location=New York|isbn=978-0-399-52853-8|page=201|url=https://books.google.com/books?id=xu8tb2o66iIC&pg=PA201|edition=1st Perigee|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20160629170645/https://books.google.com/books?id=xu8tb2o66iIC&pg=PA201|archivedate=June 29, 2016|df=mdy-all}}</ref> การสวนล้างช่องคลอด (douching) หลังมีเพศสัมพันธ์ไม่ใช่การคุมกำเนิดที่มีประสิทธิภาพ<ref>{{cite book|last=Rengel|first=Marian|title=Encyclopedia of birth control|year=2000|publisher=Oryx Press|location=Phoenix, Ariz|isbn=978-1-57356-255-3|page=65|url=https://books.google.com/books?id=dx1Kz-ezUjsC&pg=PA65|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20160506182117/https://books.google.com/books?id=dx1Kz-ezUjsC&pg=PA65|archivedate=May 6, 2016|df=mdy-all}}</ref> แถมยังมักส่งผลเสียต่อสุขภาพและไม่แนะนำให้ใช้<ref>{{cite journal|last=Cottrell|first=BH|title=An updated review of evidence to discourage douching.|journal=MCN. The American journal of maternal child nursing|date=Mar–Apr 2010|volume=35|issue=2|pages=102–7; quiz 108–9|pmid=20215951|doi=10.1097/NMC.0b013e3181cae9da}}</ref> ผู้หญิงอาจตั้งครรภ์ได้แม้ในการร่วมเพศครั้งแรก<ref>{{cite book|last=Alexander|first=William|title=New Dimensions In Women's Health – Book Alone|year=2013|publisher=Jones & Bartlett Publishers|isbn=978-1-4496-8375-7|page=105|url=https://books.google.com/books?id=GVPHhIM3IZ0C&pg=PA105|edition=6th|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20160506231310/https://books.google.com/books?id=GVPHhIM3IZ0C&pg=PA105|archivedate=May 6, 2016|df=mdy-all}}</ref> และในทุก[[ท่วงท่าการร่วมเพศ]]<ref>{{cite book|last=Sharkey|first=Harriet|title=Need to Know Fertility and Conception and Pregnancy|year=2013|publisher=HarperCollins|isbn=978-0-00-751686-5|page=17|url=https://books.google.com/books?id=Mc7qlSypV6UC&pg=PP17|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20160603092657/https://books.google.com/books?id=Mc7qlSypV6UC&pg=PP17|archivedate=June 3, 2016|df=mdy-all}}</ref> นอกจากนี้ยังเป็นไปได้ (แม้จะโอกาสต่ำ) ที่จะตั้งครรภ์ระหว่างเป็นประจำเดือน<ref>{{cite book|last=Strange|first=Mary|title=Encyclopedia of women in today's world|year=2011|publisher=Sage Reference|location=Thousand Oaks, Calif.|isbn=978-1-4129-7685-5|page=928|url=https://books.google.com/books?id=bOkPjFQoBj8C&pg=PA928|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20160515051725/https://books.google.com/books?id=bOkPjFQoBj8C&pg=PA928|archivedate=May 15, 2016|df=mdy-all}}</ref>
 
== แนวทางการวิจัย ==