ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปัญหาสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
คานหบหๅั
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
~riley (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 2001:44C8:450C:CF26:E13B:E782:6338:E583 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย B20180
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว SWViewer [1.3]
บรรทัด 1:
ครวยยยย[[ไฟล์:Forest fire mae hong son province 01.jpg|thumb|380px|ไฟป่าใน[[จังหวัดแม่ฮ่องสอน]] เดือนมีนาคม พ.ศ. 2553]]
 
[[การเติบโตทางเศรษฐกิจ]]อย่างรวดเร็วของ[[ประเทศไทย]]ทำให้เกิด[[ปัญหาสิ่งแวดล้อม]]นานาประการ ประเทศไทยกำลังประสบปัญหาเรื่อง[[มลพิษทางอากาศ|อากาศ]], การลดลงของประชากรสัตว์ป่า, [[การทำลายป่า]], [[การกร่อน|การชะล้างพังทลายของดิน]], [[การขาดแคลนน้ำ]] และปัญหาขยะ ตามข้อมูลบ่งชี้ในปี พ.ศ. 2547 ค่าใช้จ่ายด้านมลพิษทางอากาศและน้ำของประเทศมีขนาดเพิ่มขึ้นไปจนถึงที่ประมาณ 1.6–2.6 เปอร์เซนต์ของจีดีพีต่อปี<ref name="World Bank">{{cite web |url=http://siteresources.worldbank.org/INTTHAILAND/Resources/Environment-Monitor/2006term-executive-summary.pdf |title=Thailand Environment Monitor 2006, Executive Summary: Blue Waters in Peril|accessdate=2011-09-13 |publisher=World Bank}}</ref> การเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทยจึงก่อให้เกิดความเสียหายอย่างมากต่อผู้คนและสิ่งแวดล้อมดังที่ปรากฏ
 
''แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560–2564)'' ของประเทศไทยเตือนว่า "ในปัจจุบันทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อมของประเทศกำลังเสื่อมโทรม และกลายเป็นจุดอ่อนในการรักษาพื้นฐานของการผลิต, บริการ และการใช้ชีวิตอย่างยั่งยืน มีการใช้ต้นตอทรัพยากรธรรมชาติจำนวนมากเพื่อการพัฒนา ส่งผลให้เกิดการกร่อนสลายอย่างต่อเนื่อง ป่าได้หมดลง และความหลากหลายทางชีวภาพถูกคุกคาม ในขณะที่แสดงความเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ำในอนาคต การจัดหาน้ำที่มีอยู่ไม่สามารถตอบสนองความต้องการของภาคส่วนต่าง ๆ ได้ ความขัดแย้งในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติเกิดจากการจัดสรรของการเข้าถึงและการใช้ประโยชน์ที่ไม่เป็นธรรม ยิ่งไปกว่านั้น ปัญหาสิ่งแวดล้อมได้เพิ่มขึ้นพร้อมกับการเติบโตทางเศรษฐกิจและการทำให้กลายเป็นเมือง ปัญหาทั้งหมดเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและเพิ่มความเสียหายทางเศรกิจเศรษฐกิจมากขึ้น"7<ref name=NESDB>{{cite book |title=The Twelfth National Economic and Social Development Plan (2017 - 2021)|date=n.d.|publisher=Office of the National Economic and Social Development Board (NESDB); Office of the Prime Minister|location=Bangkok |url=http://www.nesdb.go.th/nesdb_en/ewt_w3c/ewt_dl_link.php?filename=develop_issue&nid=4345|accessdate=31 May 2018}}</ref>{{RP|14-15,132}}
 
== อากาศเปลี่ยนแปลง ==