ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หม่อมเจ้าพิไลยเลขา ดิศกุล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Aroonsaha (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{Infobox royalty
{{กล่องข้อมูล เชื้อพระวงศ์
|image = หม่อมเจ้าพิไลยเลขา.JPG
| สี = pink
| ภาพtitle = ไฟล์:หม่อมเจ้าพิไลยเลขา.JPG ชั้น 4
| วันประสูติbirth_date = {{วันเกิด|2440|8|8}}
| พระนาม =
| วันสิ้นชีพิตักษัยdeath_date = {{วันตายและอายุ|2528|12|11|2440|8|8}}
| ฐานันดร = หม่อมเจ้า
|death_style = สิ้นชีพิตักษัย
| วันประสูติ = {{วันเกิด|2440|8|8}}
| พระบิดาfather1 = [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]]
| วันสิ้นชีพิตักษัย = {{วันตายและอายุ|2528|12|11|2440|8|8}}
| พระมารดาmother1 = หม่อมเฉื่อย ดิศกุล ณ อยุธยา
| พระบิดา = [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]]
| ราชวงศ์dynasty = [[ราชวงศ์จักรี|จักรี]]
| พระมารดา = หม่อมเฉื่อย ดิศกุล ณ อยุธยา
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์จักรี|จักรี]]
}}
'''หม่อมเจ้าพิไลยเลขา ดิศกุล''' (8 สิงหาคม พ.ศ. 2440 11 ธันวาคม พ.ศ. 2528)<ref>[http://learners.in.th/file/beeboy555/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B8%B3%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E.doc สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอมีพระนามลำลองว่า พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ]</ref>'''หญิงพิไลย''' เป็นพระธิดาของใน[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]] กับประสูติแต่หม่อมเฉื่อย ดิศกุล ณ อยุธยา เรียกอย่างลำลองว่า '''หญิงพิไลย'''<ref>{{cite web |url=http://www.sarakadee.com/2013/03/18/kromdamrong/|title=ติดเกาะ! ตามสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ไป “ลี้ภัยการเมือง” ที่ปีนัง|author=ศรัณย์ ทองปาน|date=18 มีนาคม 2556|work=สารคดี|publisher=|accessdate=5 เมษายน 2558}}</ref>
 
พระบิดานำเข้าถวายตัวหม่อมเจ้าพิไลยเลขาเติบโตมาในสำนักพระอุปถัมภ์ของ[[สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]] ตั้งแต่ชันษา 4 ชันษา เข้าศึกษาตามแบบสมัยใหม่ที่[[โรงเรียนราชินี]] ได้รับใช้ใกล้ชิดติดพระองค์ปี โดยมีหน้าที่เชิญหีบพระศรี พระกลด ตลอดจนเครื่องใช้ส่วนพระองค์ จนสมเด็จทรงพระชันษาได้ 14 ปีกรุณาเลี้ยงดูอย่างใกล้ชิด โปรดให้ศึกษาที่[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว|สมเด็จเจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์โรงเรียนราชินี]]จนจบ (รัชกาลที่ได้เป็นครูสอนหนังสือ 7)ทรงรับใช้ใกล้ชิดพระองค์ ตามเสด็จไปในที่พระชนมายุต่าง 16 พรรษาและเป็นผู้อ่านหนังสือถวาย<ref ทรงพอพระทัยในหม่อมเจ้าหญิงพิไลยเลขา จึงทูลขอพระชนนีให้ทรงหมั้นหมายก่อนname="สิ่งที่จะเสด็จกลับศึกษาต่อข้าพเจ้าพบเห็น">{{user:2T/ref/สิ่งที่[[ประเทศอังกฤษ]]ข้าพเจ้าพบเห็น}}</ref> โดยพระชนนีหมั้นหมายหม่อมเจ้าหญิงพิไลยเลขาด้วยเครื่องเพชร และโปรดพระราชทานอนุญาตให้ทั้งคู่แลกของและติดต่อกันทาง[[จดหมาย]]
 
เมื่อกระทั่งปี พ.ศ. 2454 หม่อมเจ้าพิไลยหม่อมเจ้าพิไลยเลขามีพระชันษาได้ 14 ปี ทรงใกล้ชิดสนิทสนมกับ [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราไชย|สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก]] (พระชันษา 18 ปี) และ[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว|สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์]] (พระชันษา 17 ปี) ซึ่งเสด็จกลับจากทรงศึกษาในที่[[ทวีปยุโรป]]ช่วงฤดูร้อน สมเด็จเจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ทรงพอพระทัยในหม่อมเจ้าพิไลยเลขา จึงทรงกราบทูลขอหม่อมเจ้าพิไลยเลขา ยเลขาจากสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง และซึ่งสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงก็ทรงได้รับหมั้นหมายหม่อมเจ้าพิไลยเลขาด้วยเครื่องเพชรและพระราชทานพระราชานุญาตให้ติดต่อกันทางจดหมาย เมื่อสมเด็จเจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ทรงเดินทางเสด็จกลับไปศึกษาต่อที่ยุโรป<ref name="สิ่งที่ข้าพเจ้าพบเห็น"/>
แต่หลังจากนั้น 4 ปี หลังเสด็จกลับศึกษาต่อ หม่อมเจ้าพิไลยเลขาซึ่งมีพระชันษา 18 ปี ก็มิใช่เด็กหญิงที่สามารถคลุกคลีผู้ใดได้แต่เดิม ในขณะที่สมเด็จเจ้าฟ้าประชาธิปกทรงมีโอกาสพบปะเล่นหัวพูดคุยกับหญิงอื่น และต้องชะตากับ[[สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี|หม่อมเจ้ารำไพพรรณี สวัสดิวัตน์]] ทำให้พระทัยหวั่นไหว อันเป็นเหตุจากความเหินห่างพระคู่หมั้น จนอภิเษกสมรสกัน<ref>ศันสนีย์ วีระศิลป์ชัย. "วาทะเล่าประวัติศาสตร์" ''นิตยสารศิลปวัฒนธรรม'' ฉบับ 2 ธันวาคม 2551หน้า 42-44</ref>
 
แต่หลังจากนั้นในปี 4พ.ศ. ปี2458 หลังเมื่อสมเด็จเจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์เสด็จกลับศึกษาต่อจากยุโรป และทรงรับราชการในกรมเสนาธิการทหารบก หม่อมเจ้าพิไลยเลขาซึ่งมีพระชันษา 18 ปี ก็มิใช่เด็กหญิงที่สามารถคลุกคลีกับผู้ใดได้เหมือนแต่เดิม ในขณะที่สมเด็จเจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ทรงมีโอกาสพบปะเล่นหัวพูดคุยกับหญิงอื่น และต้องชะตากับ[[สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี|หม่อมเจ้ารำไพพรรณี สวัสดิวัตน์]] ทำให้พระทัยหวั่นไหว อันเป็นเหตุจากความเหินห่างพระคู่หมั้น จนอภิเษกสมรสกัน<ref>ศันสนีย์ วีระศิลป์ชัย. "วาทะเล่าประวัติศาสตร์" ''นิตยสารศิลปวัฒนธรรม'' ฉบับ 2 ธันวาคม 2551หน้า 42-44</ref> และได้กราบทูลขอพระราชานุญาตเสกสมรสกับหม่อมเจ้ารำไพพรรณี สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงจึงพระราชทานพระราชานุญาตให้หม่อมเจ้าพิไลยเลขาเสด็จกลับไปประทับกับพระบิดาที่[[วังวรดิศ]]<ref name="สิ่งที่ข้าพเจ้าพบเห็น"/>
ทรงเติบโตมาในพระอุปถัมภ์ของ[[สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]] ตั้งแต่พระชันษา 4 ปี ทรงพระกรุณาเลี้ยงดูอย่างใกล้ชิด ทรงโปรดให้ศึกษาที่[[โรงเรียนราชินี]]จนจบ และได้เป็นครูสอนหนังสือ และออกมารับใช้ใกล้ชิดพระองค์ ตามเสด็จไปในที่ต่างๆ และเป็นผู้อ่านหนังสือถวาย<ref name="สิ่งที่ข้าพเจ้าพบเห็น">{{user:2T/ref/สิ่งที่ข้าพเจ้าพบเห็น}}</ref>
 
เมื่อ พ.ศ. 2454 หม่อมเจ้าพิไลยเลขามีพระชันษาได้ 14 ปี ทรงใกล้ชิดสนิทสนมกับ [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราไชย|เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก]] (พระชันษา 18 ปี) และ[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว|เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์]] (พระชันษา 17 ปี) ซึ่งเสด็จกลับจากทรงศึกษาใน[[ยุโรป]]ช่วงฤดูร้อน เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ทรงกราบทูลขอหม่อมเจ้าพิไลยเลขา จากสมเด็จพระบรมราชชนนี และทรงได้รับพระราชานุญาตให้ติดต่อกันทางจดหมาย เมื่อเจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ทรงเดินทางกลับไปศึกษาต่อที่ยุโรป<ref name="สิ่งที่ข้าพเจ้าพบเห็น"/>
 
ต่อมาเมื่อเจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์เสด็จกลับจากยุโรป ใน พ.ศ. 2458 และทรงรับราชการในกรมเสนาธิการทหารบก กลับได้ทรงสนิทสนมกับ[[สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี|หม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณี สวัสดิวัตน์]] และได้กราบทูลขอพระบรมราชานุญาตเสกสมรสกับหม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณี สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงจึงทรงอนุญาตให้หม่อมเจ้าพิไลยเลขา เสด็จกลับประทับกับพระบิดาที่[[วังวรดิศ]]<ref name="สิ่งที่ข้าพเจ้าพบเห็น"/>
 
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==