ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หลอดเลือดแดงสู่ปอด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
เปลี่ยนจากหลอดเลือดแดงเป็นหลอดเลือดดำเพราะหลอดเลือดแดงจะเป็นหลอดเลือดที่นำเลือดที่มี่ออกซิเจน ตรงข้ามกับหลอดเลือดดำ
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{Infobox Artery
| Name = หลอดเลือดแดงดำสู่ปอด
| map_caption =หลอดเลือดแดงสู่ปอด ถูกแสดงผลในสีม่วง
| Latin = truncus pulmonalis, arteria pulmonalis
บรรทัด 16:
| DorlandsSuf = 12826098
}}
'''หลอดเลือดแดงดำสู่ปอด''' หรือ '''พัลโมนารีอาร์เทอรี''' ({{lang-en|Pulmonary artery}}) เป็นหลอดเลือดแดงซึ่งนำเลือดที่ไม่มี[[ออกซิเจน]]จาก[[หัวใจ]]ห้องล่างขวาเข้าสู่[[ปอด]] ซึ่งถือว่าเป็นหลอดเลือดแดงเพียงชนิดเดียวที่บรรจุเลือดแดงที่ปราศออกซิเจน
 
ใน[[หัวใจ]]ของมนุษย์ หลอดเลือดแดงสู่ปอดทั้งหลายจะมีจุดเริ่มต้นที่บริเวณ[[หัวใจ]]ห้องล่างขวา ซึ่งเป็นหลอดเลือดขนาดใหญ่ราว 3 เซนติเมตรแต่สั้นประมาณ 5 เซนติเมตร แล้วแตกกิ่งออกเป็นสองเส้น (ซ้ายกับขวา) ซึ่งนำเลือดที่ปราศออกซิเจนไปสู่ปอด และเข้าสู่[[หลอดเลือดฝอย]]บริเวณถุงลมของปอด เพื่อแลกเปลี่ยนก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์บางส่วนออกไปและรับออกซิเจนเข้ามา ซึ่งเป็นหนึ่งกระบวนการของ[[ระบบหายใจ]] ความดันหลอดเลือดแดงสู่ปอดของมนุษย์จะอยู่ที่ 9 - 18 มม.ปรอท<ref name=edwards>[http://www.edwards.com/SiteCollectionImages/edwards/products/presep/ar04313hemodynpocketcard.pdf Edwards Lifesciences LLC > Normal Hemodynamic Parameters – Adult] 2009</ref> ในขณะที่ความดันหลอดเลือดฝอยในปอดจะอยู่ที่ไม่เกิน 25มม.ปรอท<ref name=DAVIDSONS2010>{{cite book|author=edited by Nicki R. Colledge, Brian R. Walker, Stuart H. Ralston ; illustrated by Robert Britton|title=Davidson's principles and practice of medicine.|year=2010|publisher=Churchill Livingstone/Elsevier|location=Edinburgh|isbn=978-0-7020-3084-0|edition=21st}}</ref>{{rp|720}} หากเกินกว่านี้แสดงถึงภาวะ[[ความดันโลหิตในปอดสูง]]