ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รถไฟฟ้าชานเมือง สายธานีรัถยา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Magnamonkun (คุย | ส่วนร่วม)
Oum13928 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 51:
 
รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม มีแผนงานรวม 114.3 กม. 36 สถานี เป็นเส้นทางหลักในแนวเหนือ-ใต้ ตามแนวทางรถไฟเดิมของการรถไฟแห่งประเทศไทย เชื่อมต่อพื้นที่ชานเมืองด้านทิศเหนือ (พื้นที่ดอนเมือง รังสิต ปทุมธานี อยุธยา) และพื้นที่ชานเมืองด้านทิศใต้ (พื้นที่บางบอน มหาชัย) เข้าสู่ใจกลางเมือง (หัวลำโพง) โดยบูรณาการการเดินทางร่วมกันกับระบบรถไฟทางไกลที่สามารถเชื่อมโยงการเดิน ทางไปสู่ภูมิภาคต่างๆ โครงข่ายสนับสนุนให้เกิดการกระจายตัวของพื้นที่อยู่อาศัยไปยังพื้นที่รอบนอก ตามแนวคิดผังเมือง รองรับศูนย์ราชการกรุงเทพมหานครแห่งใหม่ พื้นที่ชุมชนบริเวณถนนแจ้งวัฒนะและรามอินทราที่กำลังมีการเติบโตในอัตราสูง เชื่อมต่อกับท่าอากาศยานดอนเมือง รองรับประชาชนบริเวณรังสิต ปทุมธานี ไปยังเมืองมหาวิทยาลัยบริเวณรังสิต อยุธยา เชื่อมโยงไปยังบ้านภาชี ในอนาคตสามารถเชื่อมโยงกับสถานีขนส่งผู้โดยสารสายเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือแห่งใหม่อีกด้วย โครงการสามารถแก้ปัญหาจุดตัดระหว่างถนนและรถไฟในเขตเมือง ทำให้สามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการเดินทางของระบบราง และลดความล่าช้าในการเดินทางบนโครงข่ายถนนได้
 
ปัจจุบันรถไฟฟ้าชานเมือง สายสีแดงเข้ม ได้เริ่มดำเนินการนำขบวนรถออกทดสอบบางส่วนแล้ว ได้แก่ ทดสอบระบบการจ่ายไฟฟ้าให้กับขบวนรถ การวัดระยะห่างระหว่างขบวนรถกับชานชาลาตัวสถานี<ref>[https://www.youtube.com/watch?v=ZTJ6iv851Kg เริ่มทดสอบระบบรถไฟฟ้าสายสีแดง บน MAIN LINE - YouTube]</ref><ref>[https://www.facebook.com/TransportDailynews/posts/2498232807064889 รถไฟฟ้าสายสีแดงประเดิมความเร็วจาก10อัพสปีด140 - ข่าวนวัตกรรมขนส่ง เดลินิวส์] , สืบค้นเมื่อ 18 มกราคม 2563</ref>
 
== พื้นที่ที่เส้นทางผ่าน ==