ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บาร์โค้ด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
สั้นๆ
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Wikipedia-barcode-128B.png|thumb|คำว่า "''Wikipedia''" เข้ารหัสแบบ Code 128-B]]
 
'''บาร์โค้ด คือ คิวอาร์โค้ด''' หรือ '''รหัสแท่ง''' ({{lang-en|barcode}}) เป็นเครื่องหมายแทน[[ข้อมูล]]ชนิดหนึ่งที่[[สื่อที่เครื่องจักรสามารถอ่านได้|อ่านได้]]ด้วยแสง (optical machine-readable) ซึ่งข้อมูลนั้นมักเกี่ยวข้องกับวัตถุที่มันติดอยู่ บาร์โค้ดโดยแรกเริ่มใช้รูปแบบ "บาร์" หรือ "แท่ง" คือเส้นขนานหลาย ๆ เส้นที่มีความหนาและช่องไฟต่าง ๆ วางเรียงกันอยู่อย่างมีกฎเกณฑ์ ซึ่งรูปแบบนี้อาจเรียกว่า ''เชิงเส้น'' หรือ ''หนึ่งมิติ'' (1D) ก็ได้ เวลาต่อมามีการพัฒนารูปแบบเป็น[[จุด]] [[สี่เหลี่ยม]] [[หกเหลี่ยม]] และรูปแบบทางเรขาคณิตอื่น ๆ ใน ''สองมิติ'' (2D) ถึงแม้ระบบสองมิตินี้ใช้สัญลักษณ์ที่หลากหลาย โดยรวมก็ยังคงเรียกว่าบาร์โค้ดอยู่เช่นเดิม บาร์โค้ดดั้งเดิมอ่านด้วย[[เครื่องกราดภาพ]]ด้วยแสงชนิดพิเศษที่เรียกว่า[[เครื่องอ่านบาร์โค้ด]] แต่ต่อมาเครื่องกราดภาพชนิดอื่นและซอฟต์แวร์แปลความหมายก็มีให้ใช้ในอุปกรณ์ต่าง ๆ รวมไปถึง[[เครื่องพิมพ์]]ตั้งโต๊ะชนิดอยากที่ที่กราดภาพได้ และ[[สมาร์ตโฟน]]
 
บาร์โค้ดถูกใช้เป็นครั้งแรกเพื่อติดป้ายกำกับ[[รถราง]]แต่ก็ไม่ประสบผลสำเร็จในเชิงพาณิชย์ จนกระทั่งระบบ ณ [[จุดขาย]]อัตโนมัติใน[[ซูเปอร์มาร์เก็ต]]ได้นำบาร์โค้ดไปใช้ ซึ่งเป็นงานหนึ่งที่ทำให้บาร์โค้ดแพร่หลายไปเกือบทั่วโลก การใช้งานบาร์โค้ดก็แพร่กระจายไปยังงานอื่น ๆ ที่มักเกี่ยวข้องกับ[[การระบุและการจับข้อมูลอัตโนมัติ]] (automatic identification and data capture: AIDC) บาร์โค้ดสมัยใหม่ในรูปแบบ[[รหัสผลิตภัณฑ์สากล]] (Universal Product Code: UPC) อันแรกสุดที่ถูกอ่าน คือบาร์โค้ดที่ติดอยู่บนห่อหมากฝรั่ง[[ริกลีย์]]เมื่อเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1974 <ref>{{Citation |last=Fox |first=Margalit |url=http://www.nytimes.com/2011/06/16/business/16haberman.html?_r=1&hp&gwh=7657EAA31B3069C9E728CC93FD2695E8 |title=Alan Haberman, Who Ushered In the Bar Code, Dies at 81 |journal=The New York Times |date=June 15, 2011}}</ref>
บรรทัด 22:
ไฟล์:Azteccodeexample.svg|รหัสแอซเทค
ไฟล์:High Capacity Color Barcode.png|เอ็มเอสแท็ก (เอชซีซีบี)
 
</gallery>