ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ซีคมุนท์ ฟร็อยท์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 32:
| footnotes =
}}
'''ซีคมุนท์ ฟร็อยท์''' ({{lang-de|Sigmund Freud}}, {{IPA-de|ˈziːkmʊnt ˈfʁɔʏ̯t|pron}}; 6 พ้ดฤษภาคมพฤษภาคม ค.ศ. 1856 — 23 กันยายน ค.ศ. 1939) เป็นประสาทแพทย์ชาวออสเตรีย ผู้เป็นที่รู้จักในฐานะบิดาแห่ง[[จิตวิเคราะห์]]
 
บิดามารดาของฟร็อยท์ยากจน แต่ได้ส่งเสียให้ฟร็อยท์ได้รับการศึกษา เขาสนใจกฎหมายเมื่อครั้งเป็นนักเรียน แต่เปลี่ยนไปศึกษาแพทยศาสตร์แทน โดยรับผิดชอบการวิจัย[[โรคสมองพิการ]] [[ภาวะเสียการสื่อความ]] และจุลประสาทกายวิภาคศาสตร์ เขาเดินหน้าเพื่อพัฒนาทฤษฎีเกี่ยวกับ[[จิตไร้สำนึก]]และกลไกของ[[การกดเก็บ]] และตั้งสาขา[[จิตบำบัด]]ด้วยวาจา โดยตั้งจิตวิเคราะห์ ซึ่งเป็นวิธีการทางคลินิกเพื่อรักษา[[จิตพยาธิวิทยา]]ผ่านบทบทสนทนาและระหว่างผู้รับการรักษากับนักจิตวิเคราะห์<ref name="Systems of Psychotherapy">Ford & Urban 1965, p. 109</ref> แม้จิตวิเคราะห์จะใช้เป็นการปฏิบัติเพื่อการรักษาลดลง<ref>Kovel 1991, p. 96.</ref> แต่ก็ได้บันดาลใจิแอิอแา อั แอัแอผปแอปืแอ ปแอเ ใจแก่การพัฒนาจิตบำบัดอื่นอีกหลายรูปแบบ ซึ่งบางรูปแบบแตกออกจากแนวคิดและวิธีการดั้งเดิมของฟร็อยท์
 
ฟร็อยท์ตั้งสมมุติฐานการมีอยู่ของ[[ลิบีโด]] (พลังงานซึ่งให้กับกระบวนการและโครงสร้างทางจิต) พัฒนาเทคนิคเพื่อการรักษา เช่น การใช้[[ความสัมพันธ์เสรี]] (ซึ่งผู้เข้ารับการรักษารายงานความคิดของตนโดยไม่มีการสงวน และต้องไม่พยายามเพ่งความสนใจขณะทำเช่นนั้น) ค้นพบ[[การถ่ายโยงความรู้สึก]] (กระบวนการที่ผู้รับการรักษาย้ายที่ความรู้สึกของตนจากประสบการณ์ภาพในอดีตของชีวิตไปยังนักจิตวิเคราะห์) และตั้งบทบาทศูนย์กลางของมันในกระบวนการวิเคราะห์ และเสนอว่า [[ฝัน]]ช่วยรักษา[[การหลับ]] โดยเป็นเครื่องหมายของความปรารถนาที่สมหวัง ที่หาไม่แล้วจะปลุกผู้ฝัน เขายังเป็นนักเขียนบทความที่มีผลงานมากมาย โดยใช้จิตวิเคราะห์ตีความและวิจารณ์วัฒนธรรม
 
จิตวิเคราะห์ยังทรงอิทธิพลอยู่ในทาง[[จิตเวชศาสตร์]]<ref>[http://americanmentalhealthfoundation.org/a.php?id=24 Michels, undated]<br />Sadock and Sadock 2007, p. 190: "Certain basic tenets of Freud's thinking have remained central to psychiatric and psychotherapeutic practice."</ref> และต่อ[[มนุษยศาสตร์]]โดยรวม แม้ผู้วิจารณ์บางคนจะมองว่าเป็นวิทยาศาสตร์ลวงโลก<ref>Webster 1995, p. 12.</ref>และกีดกันทางเพศ<ref>Mitchell 2000, pp. xxix, 303–356.</ref> การศึกษาเมื่อ ค.ศ. 2008 เสนอว่า จิตวิเคราะห์ถูกลดความสำคัญในสาขาจิตวิทยาในมหาวิทยาลัย<ref>[http://www.nytimes.com/2007/11/25/weekinreview/25cohen.html?_r=3&ref=education&oref&oref=slogin Cohen, 25 November 2007].</ref> แม้ว่าทฤษฎีของฟร็อยท์จะมีเนื้อหาทางวิทยาศาสตร์อยู่ก็ตาม แต่ผลงานของเขาได้รับการตีแผ่ในความคิดเชิงปัญญาและวัฒนธรรมสมัยนิยม
 
== ความคิด ==
=== จิตไร้สำนึก ===
 
=== จิตไร้สำนึก ===
{{บทความหลัก|จิตไร้สำนึก}}
มโนทัศน์จิตไร้สำนึกเป็นศูนย์กลางการบรรยายจิตของฟร็อยท์ ฟร็อยท์เชื่อว่า กวีและนักคิดผิวขาวรู้ถึงการมีอยู่ของจิตไร้สำนึกมานานแล้ว เขามั่นใจว่า จิตไร้สำนึกได้รับการรับรองอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ในสาขาจิตวิทยา อย่างไรก็ดี มโนทัศน์ดังกล่าวปรากฏขึ้นอย่างไม่เป็นทางการในงานเขียนของฟร็อยท์ ครั้งแรกถูกเสนอมาเชื่อมโยงกับปรากฏการณ์การกดเก็บ เพื่ออธิบายว่าเกิดอะไรขึ้นต่อความคิดซึ่งถูกกดเก็บ ฟร็อยท์ระบุชัดเจนว่า มโนทัศน์จิตไร้สำนึกอาศัยทฤษฎีการกดเก็บ เขาตั้งสมมุติฐานวัฏจักรที่ความคิดถูกกดเก็บ แต่ยังคงอยู่ในจิต โดยนำออกจากความรู้สึกตัวแต่ยังเกิดผลอยู่ แล้วกลับมาปรากฏในความรู้สึกตัวอีกครั้งภายใต้กรณีแวดล้อมบางประการ สมมุติฐานดังกล่าวอาศัยการสืบค้นผู้รับการรักษา traumatic hysteria ซึ่งเปิดเผยผู้รับการรักษาที่พฤติกรรมของผู้ป่วยไม่สามารถอธิบายได้โดยไม่อ้างอิงถึงความคิดที่พวกเขาไม่มีสติ ข้อเท็จจริงนี้ ประกอบกับการสังเกตว่า พฤติกรรมเช่นนั้น มนุษย์อาจชักนำให้เกิดได้โดย[[การสะกดจิต]] ซึ่งความคิดจะถูกใส่เข้าไปในจิตของบุคคล แนะนัยว่า แนวคิดเกิดผลอยู่ในผู้รับการรักษาดั้งเดิม แม้ว่าผู้รับการทดลองจะไม่ทราบถึงความคิดนั้นก็ตาม
เส้น 57 ⟶ 59:
{{บทความหลัก|อิด อัตตา และอภิอัตตา}}
 
อิด (id) เป็นส่วนของจิตใจที่ไร้สำนึก หุนหันพลันแล่นและเหมือนเด็กซึ่งทำงานอยู่บน "หลักความพึงพอใจ" และเป็นแหล่งที่มาของแรงกระตุ้นและแรงขับพื้นฐาน อิดแสวงความต้องการและความพึงพอใจทันที<ref name="Hothersall, D 2004. p. 290"/> ส่วนอภิอัตตา (superego) เป็นองค์ประกอบทางธรรมศีลธรรมของจิตใจ ซึ่งพิจารณาว่า ไม่มีกรณีแวดล้อมพิเศษใดที่สิ่งที่ถูกต้องทางศีลธรรมอาจไม่ถูกต้องต่อสถานการณ์ที่กำลังเกิดขึ้น อัตตา (ego) ที่ปฏิบัติการอย่างเป็นเหตุเป็นผล พยายามรักษาสมดุลระหว่างการแสวงความพึงพอใจของอิดและการเน้นศีลธรรมของอภิอัตตาซึ่งปฏิบัติไม่ได้จริง อัตตาเป็นส่วนของจิตใจที่โดยปกติสะท้อนโดยตรงในการแสดงออกของบุคคลมากที่สุด เมื่อรับภาระหนักเกินไปหรือถูกคุกคามจากหน้าที่ของอัตตา มันจะใช้กลไกป้องกันตนเอง ซึ่งรวมถึงการปฏิเสธ การกดเก็บและการย้ายที่ มโนทัศน์นี้โดยปกติแสดงภาพโดย "แบบจำลองภูเขาน้ำแข็ง"<ref>{{cite web|last=Heffner|first=Christopher|title=Freud's Structural and Topographical Models of Personality|url=http://allpsych.com/psychology101/ego.html|work=Psychology 101|accessdate=5 September 2011}}</ref> แบบจำลองนี้แสดงบทบาทของอิด อัตตาและอภิอัตตาตามความคิดเกี่ยวกับ ภาวะรู้สำนึกและไม่รู้สำนึกื้รู้สำนึก
 
ฟร็อยท์เปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างอัตตากับอิดว่าเหมือนสารถีกับม้า โดยม้าเป็นพลังงานและแรงขับ ส่วนสารถีคอยชี้นำ<ref name="Hothersall, D 2004. p. 290"/>