ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ป่าชายเลน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8673314 สร้างโดย 171.100.17.223 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8673307 สร้างโดย 171.100.17.223 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Mangroves.jpg|thumb|250px|ป่าชายเลน]]
'''ป่าชายเลน''' คือเป็นกลุ่มสังคมพืชซึ่งขึ้นอยู่ในเขตน้ำลงต่ำสุดและน้ำขึ้นสูงสุด บริเวณชายฝั่งทะเล ปากแม่น้ำหรืออ่าว อีกความหมายหนึ่ง หมายถึง สังคมพืชที่ประกอบด้วยพันธุ์ไม้หลายชนิดหลายตระกูล และเป็นพวกที่มีใบเขียวตลอดปี (evergreen species) ซึ่งมีลักษณะทางสรีรวิทยาและความต้องการ[[สิ่งแวดล้อม]]ที่คล้ายกัน ซึ่งส่วนใหญ่ประกอบด้วยพันธุ์ไม้[[Rhizophora|สกุลโกงกาง]] (''Rhizophora'' spp.) เป็นไม้สำคัญและมีไม้ตระกูลอื่นบ้าง
 
ได้มีการค้นพบป่าประเภทนี้มาตั้งแต่เมื่อ[[คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส|โคลัมบัส]] เดินทางมาบริเวณชายฝั่งตะวันตกของเกาะ[[คิวบา]] ต่อมา เซอร์ วอลเตอร์ เรลห์ ได้พบป่าชนิดเดียวกันนี้อยู่บริเวณปากแม่น้ำใน[[ประเทศตรินิแดดและโตเบโก|ตรินิแดด]]และเกียนา
ppspp.)
 
คำว่า "mangrove" เป็นคำจาก[[ภาษาโปรตุเกส]]คำว่า "mangue" ซึ่งหมายถึงกลุ่มสังคมพืชที่ขึ้นอยู่ตามชายฝั่งทะเลดินเลน และใช้กันแพร่หลายในประเทศแถบลาตินอเมริกา ส่วนประเทศอื่น ๆ ก็ใช้เรียกตามภาษาของตัวเอง เช่น [[ประเทศมาเลเซีย]]ใช้คำว่า "manggi-manggi" ประเทศที่ใช้ภาษาฝรั่งเศสเรียกป่าชายเลนว่า "mangrove" ส่วน[[ภาษาไทย]]เรียกป่าชนิดนี้ว่า "ป่าชายเลน" หรือ "ป่าโกงกาง"
 
บริเวณที่พบป่าชายเลนโดยทั่วไป คือตามชายฝั่ง ทะเล บริเวณปากน้ำ อ่าว [[ทะเลสาบ]] และ[[เกาะ]] ซึ่งเป็นบริเวณที่น้ำทะเลท่วมถึงของประเทศ ในแถบภูมิภาค[[เขตร้อน]] ส่วนเขตเหนือหรือใต้เขตร้อน จะพบป่าชายเลนอยู่บ้างแต่ไม่มาก โดยพื้นที่ที่พบป่าชายเลน เช่น ในกลุ่มประเทศของภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะใน[[ประเทศอินโดนีเซีย]] [[มาเลเซีย]] [[พม่า]] [[ไทย]] เป็นต้น
 
สำหรับพื้นที่ป่าชายเลนของโลกทั้งหมดมีประมาณ 113,428,089 ไร่ อยู่ใน เขตร้อน 3 เขตใหญ่ คือ เขตร้อนแถบเอเชียพื้นที่ประมาณ 52,559,339 ไร่ หรือร้อยละ 46.4 ของป่าชายเลนทั้งหมด โดยประเทศอินโดนีเซียมีป่าชายเลนมากที่สุด ถึง 26,568,818 ไร่ สำหรับในเขตร้อนอเมริกามีพื้นที่ป่าชายเลนทั้งหมดประมาณ 39,606,250 ไร่ หรือร้อยละ 34.9 ของพื้นที่ป่าชายเลนทั้งหมด ในเขตร้อนอเมริกาประเทศที่มีพื้นที่ โดย[[ประเทศบราซิล]] มีพื้นที่ป่าชายเลนประมาณ 15,625,000 ไร่ รองจากอินโดนีเซีย ส่วนเขตร้อนอัฟริกามีพื้นที่ ป่าชายเลนน้อยที่สุดประมาณ 21,262,500 ไร่ หรือร้อยละ 18.7 ของพื้นที่ป่าชายเลนทั้งหมด โดย[[ประเทศไนจีเรีย]] มีพื้นที่ป่าชายเลน 6,062,500 ไร่ มากที่สุดในบริเวณนี้ โดยป่าชายเลนที่มีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในโลก คือ [[สุนทรพน]] ซึ่งเป็น[[สามเหลี่ยมปากแม่น้ำคงคา|ปากแม่น้ำคงคา]]ระหว่างประเทศอินเดียกับบังกลาเทศ ซึ่งมีเนื้อที่ 10,000 ตารางกิโลเมตร (3,900 ตารางไมล์)<ref name="Bpedia">{{Cite book | last = Pasha | first = Mostafa Kamal | last2 = Siddiqui | first2 = Neaz Ahmad | contribution = Sundarbans | editor-last = Islam | editor-first = Sirajul | editor-link = Sirajul Islam | title = [[Banglapedia]]: national chakra encyclopedia of Bangladesh chakra | publisher = [[Asiatic Society]] of Bangladesh | place = [[Dhaka]] | isbn = 984-32-0576-6 | publication-date = 2003 | contribution-url = http://banglapedia.net/HT/S_0602.HTM | year = 2003}}</ref><ref>{{Cite news|url = http://news.nationalgeographic.com/news/2014/12/141216-sundarbans-oil-spill-bangladesh-tigers-dolphins-conservation/|title = After Oil Spill in Bangladesh's Unique Mangrove Forest, Fears About Rare Animals|last = Alexander|first = Caroline|date = 16 December 2014|work = [[National Geographic (magazine)|National Geographic]]|access-date = 29 January 2015}}</ref><ref>{{Cite news|url = http://www.huffingtonpost.com/iara-lee/sundarbans-oil-spill-an-u_b_6423852.html|title = Sundarbans Oil Spill: An Urgent Wake Up Call for the Bangladeshi Government|last = Lee|first = Iara|date = 1 December 2014|work = [[Huffingtonpost]]|access-date = 29 January 2015}}</ref><ref name = "UNESCO">{{cite web
นไม้สำคัญและมีไม้ตระกูลอื่ื่
 
 
 
 
"
 
 
มล์)<ref name="Bpedia">{{Cite book | last = Pasha | first = Mostafa Kamal | last2 = Siddiqui | first2 = Neaz Ahmad | contribution = Sundarbans | editor-last = Islam | editor-first = Sirajul | editor-link = Sirajul Islam | title = [[Banglapedia]]: national chakra encyclopedia of Bangladesh chakra | publisher = [[Asiatic Society]] of Bangladesh | place = [[Dhaka]] | isbn = 984-32-0576-6 | publication-date = 2003 | contribution-url = http://banglapedia.net/HT/S_0602.HTM | year = 2003}}</ref><ref>{{Cite news|url = http://news.nationalgeographic.com/news/2014/12/141216-sundarbans-oil-spill-bangladesh-tigers-dolphins-conservation/|title = After Oil Spill in Bangladesh's Unique Mangrove Forest, Fears About Rare Animals|last = Alexander|first = Caroline|date = 16 December 2014|work = [[National Geographic (magazine)|National Geographic]]|access-date = 29 January 2015}}</ref><ref>{{Cite news|url = http://www.huffingtonpost.com/iara-lee/sundarbans-oil-spill-an-u_b_6423852.html|title = Sundarbans Oil Spill: An Urgent Wake Up Call for the Bangladeshi Government|last = Lee|first = Iara|date = 1 December 2014|work = [[Huffingtonpost]]|access-date = 29 January 2015}}</ref><ref name="UNESCO">{{cite web
| title = Sundarban Wildlife Sanctuaries
| work = World Heritage Nomination – IUCN Technical Evaluation
เส้น 20 ⟶ 14:
| format = PDF
| url = http://whc.unesco.org/archive/advisory_body_evaluation/798.pdf
| accessdate =27 June 2014}}</ref><ref>{{Cite web|url = http://www.eoearth.org/view/article/156336/|title = Sundarbans, Bangladesh|date = 19 October 2014|accessdate = 29 January 2015|website = |publisher = The Encyclopedia of Earth|last = |first = }}</ref> ซึ่งถูกประกาศให้เป็นมรดกโลกทางธรรมชาติโดยองค์การ[[ยูเนสโก]]<ref name="UNESCO" />
 
== ห่วงโซ่อาหารในระบบนิเวศป่าชายเลน ==