ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดาวเคราะห์พ้นดาวเนปจูน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Boom1221 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{about|ดาวเคราะห์สมมติ|วัตถุที่ทราบแน่ชัดแล้วว่าพ้นดาวเนปจูน|วัตถุพ้นดาวเนปจูน}}
[[ไฟล์:Percival Lowell observing Venus from the Lowell Observatory in 1914.jpg|thumb|right|[[เปอร์ซิวัล โลเวลล์]] ผู้ริเริ่มสมมติฐานดาวเคราะห์ X]]
จากการค้นพบ[[ดาวเนปจูน]]ในปี พ.ศ. 2389 ยังมีการสังเกตคาดการณ์ว่าอาจมี'''ดาวเคราะห์อีกดวงอยู่พ้นวงโคจรของดาวเนปจูน'''หรือไม่ออกไป การสำรวจเริ่มขึ้นตอนกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 และได้รับความสนใจสูงสุดตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 เมื่อ[[เปอร์ซิวัล โลเวลล์]]ประกาศถึงภารกิจการหาดาวเคราะห์ X โลเวลล์เสนอสมมติฐานดาวเคราะห์ X เพื่ออธิบายถึง[[การค้นพบดาวเนปจูน|ความคลาดเคลื่อนปรากฏ]]ในวงโคจรดาวเคราะห์ยักษ์ โดยเฉพาะวงโคจรของ[[ดาวยูเรนัส]]กับและดาวเนปจูน<ref name=bower>{{cite journal|title= On the Orbit and Mass of Pluto with an Ephemeris for 1931–1932 |author=Ernest Clare Bower |date=1930 |journal= Lick Observatory Bulletin |volume=15 |issue= 437 |pages= 171–178 |bibcode=1931LicOB..15..171B|doi = 10.5479/ADS/bib/1931LicOB.15.171B }}</ref> การสำรวจในขั้นแรกพบซึ่งคาดการณ์ว่าจะต้องมีแรงความโน้มถ่วงขนาดใหญ่ของดาวเคราะห์ดวงที่เก้าที่มองไม่เห็นขนาดใหญ่อาจ[[การรบกวน ซึ่งส่งผลกระทบต่อ(ดาราศาสตร์)|รบกวน]]ดาวยูเรนัสเพียงพอที่จะทำให้วงโคจรเกิดความคลาดเคลื่อนอย่างชัดเจน<ref>Tombaugh (1946), p.&nbsp;73.</ref>
 
การค้นพบ[[ดาวพลูโต]]ของ[[ไคลด์ ทอมบอ]] ในปี พ.ศ. 2473 ทำให้สมมติฐานของโลเวลล์ถูกต้อง แล้วโลเวลล์ถูกต้องและดาวพลูโตก็ได้รับสถานะเป็นดาวเคราะห์ดวงที่เก้าอย่างเป็นทางการ ในปี พ.ศ. 2521 ดาวพลูโตถูกนักดาราศาสตร์สรุปว่าดาวพลูโตมีแรงความโน้มถ่วงน้อยเกินไปที่จะส่งผลกระทบต่อดาวเคราะห์ยักษ์ได้ ทำให้มีการค้นหาดาวเคราะห์ดวงที่สิบขึ้น แต่การค้นหาก็ถูกเว้นระยะไปในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1990 เมื่อยาน[[วอยเอจเจอร์ 2]] พบว่าความคลาดเคลื่อนของวงโคจรดาวยูเรนัสนั้น เกิดจากการให้ค่ามวลของดาวเนปจูนสูงเกินไป<ref name="standage">{{cite book |title= The Neptune File: A Story of Astronomical Rivalry and the Pioneers of Planet Hunting |author=Tom Standage |page= 188 |isbn= 978-0-8027-1363-6 |date= 2000 |location= New York |publisher=Walker}}</ref> หลังจากปี พ.ศ. 2535 การค้นพบวัตถุน้ำแข็งขนาดเล็กที่มีวงโคจรคล้ายหรือกว้างกว่าดาวพลูโตได้นำไปสู่ข้อสงสัยที่ว่าดาวพลูโตยังควรจะถูกจัดให้เป็นดาวเคราะห์อยู่หรือควรจะถูกจัดให้อยู่กับกลุ่มวัตถุน้ำแข็งเหล่านั้น เหมือนกับ[[ดาวเคราะห์น้อย]] ที่ถูกจัดแยกเป็นประเภทต่างหาก ถึงแม้ว่าจะมีดาวเคราะห์น้อยขนาดใหญ่ซึ่งถูกผ่านการสำรวจในขั้นต้นแล้วว่าควรจะจัดให้เป็นดาวเคราะห์ ในปี พ.ศ. 2549 [[สหพันธ์ดาราศาสตร์สากล]] ได้จัดกลุ่มให้ดาวพลูโตและดาวอื่นๆอื่น ๆ ที่มีขนาดใหญ่เป็น[[ดาวเคราะห์แคระ]] ทำให้ดาวเนปจูนกลายเป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ไกลที่สุดในระบบสุริยะ<ref name=IAU>{{cite news|url=http://www.iau.org/static/resolutions/Resolution_GA26-5-6.pdf|format=PDF| title=IAU 2006 General Assembly: Resolutions 5 and 6|publisher=International Astronomical Union|date=2006-08-24}}</ref>
 
ทุกวันนี้สมาคมดาราศาสตร์ส่วนใหญ่ทั่วโลกยืนยันว่า ดาวเคราะห์ X ไม่มีอยู่จริง แต่บางส่วนก็ยังคงยืนยันว่าดาวเคราะห์ X นี้มีอยู่จริง แต่อยู่เพื่ออธิบายความผิดปกติที่สังเกตได้ในบริเวณรอบนอกของ[[ระบบสุริยะ]] ในวัฒนธรรมสมัยนิยม หรือกระทั่งนักดาราศาสตร์บางคน<ref name=varuna>{{cite journal |title= Almost Planet X |journal=Nature |volume=411 |pages= 423–424 |date=2001 | doi=10.1038/35078164 |author=S. C. Tegler |author2=W. Romanishin |last-author-amp=yes |pmid= 11373654 |issue= 6836}}</ref> ดาวเคราะห์ X ยังคงเป็นตัวแทนสำหรับดาวเคราะห์ที่ยังไม่ถูกค้นพบในระบบสุริยะชั้นนอก โดยไม่คำนึงถึงสมมติฐานของโลเวลล์ วัตถุพ้นดาวเนปจูนอื่นๆ ก็ยังเคยได้รับการขนานนามว่าเป็นดาวเคราะห์ X บนพื้นฐานของหลักฐานที่แตกต่างกัน จนถึงวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2557 การสังเกตโดยผ่านกล้องโทรทรรศน์ไวซ์ ได้ให้ข้อมูลว่าอาจมีความเป็นไปได้ที่วัตถุขนาดเท่าดาวเสาร์จะอยู่ในบริเวณ 10,000 [[หน่วยดาราศาสตร์]] และวัตถุขนาดเท่าดาวพฤหัสบดีหรือใหญ่กว่า จะอยู่ในบริเวณ 26,000 หน่วยดาราศาสตร์ออกไป<ref name="Luhman2014">{{cite journal
| last=Luhman |first=K. L.
| title=A Search for a Distant Companion to the Sun with the Wide-field Infrared Survey Explorer