ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ใช้คำไม่ถูกต้อง
เพิ่มเติมอ้างอิงและแก้ไขลิงก์เสีย
บรรทัด 4:
: บทความนี้เป็นบทความย่อยของ[[พลังงานนิวเคลียร์]]
 
'''เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์''' ({{lang-en|Nuclear Reactor}}) เป็นอุปกรณ์ที่ก่อกำเนิดและควบคุมปฏิกิริยานิวเคลียร์ลูกโซ่ ({{lang-en|Nuclear chain reaction}}) อย่างยั่งยืน มันถูกนำมาใช้ใน[[โรงไฟฟ้านิวเคลียร์]]ในการผลิตไฟฟ้าและในการขับเคลื่อนเรือ ความร้อนจาก[[การแบ่งแยกนิวเคลียส|นิวเคลียร์ฟิชชั่น]]ถูกส่งไปให้กับของเหลว (น้ำหรือก๊าซ) ให้เป็นตัวทำงาน ({{lang-en|working fluid}}) ของเหลวความร้อนสูงจะไหลไปหมุนกังหันเพื่อหมุนใบพัดเรือหรือหมุน[[เครื่องกำเนิดไฟฟ้า]] ไอน้ำที่สร้างโดยนิวเคลียร์ในหลักการสามารถนำมาใช้เพื่อให้ความร้อนในกระบวนการอุตสาหกรรม หรือสำหรับให้ความร้อนชุมชน ({{lang-en|district heating}}) เครื่องปฏิกรณ์บางเครื่องใช้ในการผลิตไอโซโทปสำหรับการใช้งานทางการแพทย์และอุตสาหกรรม หรือผลิตพลูโตเนียมสำหรับทำอาวุธ บางเครื่องก็ใช้สำหรับงานวิจัยเท่านั้น ทุกวันนี้มีประมาณ 450 เครื่องปฏิกรณ์พลังงานนิวเคลียร์ที่ใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้าในประมาณ 30 ประเทศทั่วโลก<ref name="Newman2008">{{cite book|author=Jay Newman|title=Physics of the Life Sciences|url=http://books.google.com/books?id=vY5rXC4xlMgC|year=2008|publisher=Springer|isbn=978-0-387-77258-5|page=652}}</ref>
 
== กลไก ==
บรรทัด 12:
 
[[ไฟล์:Nuclreac01.jpg|thumb|right|250px]]
เช่นเดียวกับโรงไฟฟ้าธรรมดาที่ผลิตกระแสไฟฟ้าโดยการใช้ประโยชน์จากพลังงานความร้อน ที่ปล่อยออกมาจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิล เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์จะแปลงพลังงานความร้อนที่ปล่อยออกมาจากนิวเคลียร์ฟิชชั่น
 
=== ฟิชชัน ===
บรรทัด 19:
เมื่อนิวเคลียสของอะตอมขนาดใหญ่ที่มีคุณสมบัติฟิชชั่น<ref>วัสดุฟิสไซล์เป็นวัสดุสามารถให้ความยั่งยืนกับปฏิกิริยาลูกโซ่นิวเคลียร์ฟิชชั่น ซึ่งประกอบด้วยธาตุที่นิวเคลียสแบ่งแยกได้โดยนิวตรอนทุกพลังงาน โดยเฉพาะกับเทอร์มัลนิวตรอน วัสดุฟิสไซล์ที่สำคัญ เช่น พลูโทเนียม-239 ยูเรเนียม-235 และยูเรเนียม-233 วัสดุฟิสไซล์นี้บางครั้งเรียกว่า วัสดุเกิดฟิชชันได้ [นิวเคลียร์]</ref> เช่นยูเรเนียม-235 หรือพลูโตเนียม-239 ดูดซับนิวตรอน มันอาจทำให้เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชั่นขึ้น นิวเคลียสหนักจะแยกออกเป็นนิวเคลียสที่เบากว่า ([[ผลผลิตจากฟิชชัน]]) สองตัวหรือมากกว่า พร้อมกับปล่อยพลังงานจลน์ รังสีแกมมา และนิวตรอนอิสระออกมามากมาย ส่วนหนึ่งของนิวตรอนเหล่านี้ต่อมาอาจถูกดูดซึมโดยอะตอมที่มีคุณสมบติฟิชชั่นอื่น ๆ และก่อให้เกิดปฏิกิริยาฟิชชันต่อไปซึ่งจะปล่อยนิวตรอนมากขึ้น และทำซ้ำ ๆ ไปเรื่อย ๆ ปรากฏการณ์นี้เรียกว่าปฏิกิริยาลูกโซ่นิวเคลียร์ ({{lang-en|nuclear chain reaction}})
 
เพื่อควบคุมปฏิกิริยาลูกโซ่นิวเคลียร์ สารดูดกลืนนิวตรอน ({{lang-en|neutron poison หรือ neutron absorber}})<ref>สารพอยซัน(ปฏิกิริยานิวเคลียร์), วัสดุใดๆ ที่มีภาคตัดขวางการดูดกลืนนิวตรอนสูง ซึ่งจะดูดกลืนนิวตรอนบางส่วนจากปฏิกิริยาลูกโซ่ฟิชชั่นในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ เป็นผลให้ปฏิกิริยานิวเคลียร์ลดลง [นิวเคลียร์], อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.</ref> และ ตัวหน่วงความเร็วนิวตรอน ({{lang-en|Neutron moderator}}) สามารถลดปริมาณบางส่วนของนิวตรอนที่จะไปทำให้เกิดปฏิกิริยาฟิชชัน ทำให้ปฏิกิริยาลูกโซ่นิวเคลียร์ลดลง<ref name="DOE HAND"/> เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ทั่วไปมักจะมีระบบอัตโนมัติและคู่มือที่จะปิดปฏิกิริยาฟิชชันลง หากระบบการตรวจสอบตรวจพบสภาวะที่ไม่ปลอดภัย<ref>{{cite web |title=Reactor Protection & Engineered Safety Feature Systems |work=The Nuclear Tourist |url=http://www.nucleartourist.com/systems/rp.htm |accessdate=25 September 2008}}</ref>
{{cite web |title=Reactor Protection & Engineered Safety Feature Systems |work=The Nuclear Tourist |url=http://www.nucleartourist.com/systems/rp.htm |accessdate=25 September 2008}}
</ref>.
 
ตัวหน่วงปฏิกิริยาที่ใช้กันโดยทั่วไปประกอบด้วยน้ำธรรมดา (น้ำเบา) (เป็น 74.8% ของเครื่องปฏิกรณ์ของโลก), แท่งแกรไฟท์ (20% ของเครื่องปฏิกรณ์) และน้ำหนัก ({{lang-en|heavy water}}) (5% ของเครื่องปฏิกรณ์) บางชนิดของเครื่องปฏิกรณ์ที่ใช้ในการทดลองจะใช้เบริลเลียม แต่ไฮโดรคาร์บอนก็ได้รับการแนะนำว่าเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง<ref name="DOE HAND">{{cite web |title=DOE Fundamentals Handbook: Nuclear Physics and Reactor Theory |publisher=US Department of Energy |url= http://www.hss.energy.gov/NuclearSafety/techstds/standard/hdbk1019/h1019v2.pdf |format=PDF |accessdate=24 September 2008 |archiveurl = //web.archive.org/web/20080423194722/http://www.hss.energy.gov/NuclearSafety/techstds/standard/hdbk1019/h1019v2.pdf |archivedate = 23 April 2008}}</ref>
{{cite web |title=DOE Fundamentals Handbook: Nuclear Physics and Reactor Theory |publisher=US Department of Energy |url= http://www.hss.energy.gov/NuclearSafety/techstds/standard/hdbk1019/h1019v2.pdf |format=PDF |accessdate=24 September 2008 |archiveurl = //web.archive.org/web/20080423194722/http://www.hss.energy.gov/NuclearSafety/techstds/standard/hdbk1019/h1019v2.pdf |archivedate = 23 April 2008}}
</ref>
 
===การสร้างความร้อน===
 
แกนเครื่องปฏิกรณ์สร้างความร้อนได้หลายวิธี:
* พลังงานจลน์ของผลผลิตจากฟิชชันจะถูกแปลงเป็นพลังงานความร้อน เมื่อนิวเคลียสเหล่านี้ชนกับอะตอมในบริเวณใกล้เคียง
* เครื่องปฏิกรณ์ดูดซ​​ับบางส่วนของรังสีแกมมาที่ผลิตขึ้นระหว่างฟิชชั่นและแปลงพลังงานของพวกมันเป็นความร้อน
* ความร้อนจะถูกผลิตโดย [[การสลายกัมมันตรังสี]] ของผลผลิตจากฟิชชันและโดยวัสดุที่ถูกกระตุ้นให้ทำงานโดยการดูดซึมนิวตรอน. การสลายตัวของแหล่งความร้อนนี้จะยังคงดำเนินต่อไปสักระยะ แม้ว่าจะเป็นช่วงหลังจากที่เครื่องปฏิกรณ์ถูกปิดตัวลง
 
หนึ่งกิโลกรัมของยูเรเนียม-235 (U-235) ที่แปลงผ่านกระบวนการนิวเคลียร์จะปล่อยพลังงานประมาณสามล้านเท่า มากกว่าหนึ่งกิโลกรัมของถ่านหินที่ถูกเผาแบบดั้งเดิม (7.2 × 10<sup>13</sup> จูลต่อกิโลกรัมของยูเรเนียม-235 เมื่อเทียบกับ 2.4 × 10<sup>7</sup> จูลต่อกิโลกรัมของถ่านหิน)<ref>{{cite web|url=http://bioenergy.ornl.gov/papers/misc/energy_conv.html|title=Bioenergy Conversion Factors|publisher=Bioenergy.ornl.gov|accessdate=18 March 2011}}</ref><ref>{{cite book |url=http://www.cambridge.org/gb/knowledge/isbn/item1174921/?site_locale=en_GB |title=Nuclear Weapons: What You Need to Know |author=Jeremy Bernstein |year=2008 |page=312 |isbn=978-0-521-88408-2 |publisher=[[:en:Cambridge University Press|Cambridge University Press]] |accessdate=17 March 2011}}</ref><ref>{{Orcite book |dateurl=Marchhttps://books.google.co.th/books?id=QdArDwAAQBAJ&pg=PT6 2012}}<!--see|title=Thermal thisEnergy: isSources, moreRecovery, thanand [[WP:CALC]]Applications |chapter=5 |author=Yatish T. SeeShah [[Talk:Nuclear|place=Boca reactor#EnergyRaton, efficiency?]]FL |publisher=CRC Press |isbn=978-1-3153-0595-0|date=12 January 2018}}</ref>
 
===การระบายความร้อน===
ตัวหล่อเย็นของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ - ปกติใช้น้ำ แต่บางครั้งใช้ก๊าซหรือโลหะเหลว (เช่นโซเดียมเหลว) หรือเกลือหลอมละลาย - ถูกหมุนเวียนผ่านแกนเครื่องปฏิกรณ์เพื่อดูดซับความร้อนที่จะสร้างออกมา. ความร้อนจะถูกถ่ายเทออกไปจากเครื่องปฏิกรณ์และถูกนำมาใช้ในการสร้างไอน้ำ. ระบบเครื่องปฏิกรณ์ส่วนใหญ่ใช้ระบบทำความเย็นที่แยกทางกายภาพ ออกจากน้ำที่จะถูกต้มให้เดือดเพื่อผลิตไอน้ำแรงดันสูงสำหรับกังหันเช่น เครื่องปฏิกรณ์น้ำแรงดันสูง ({{lang-en|pressurized water reactor (PWR)}})" แต่ในบางเครื่องปฏิกรณ์, น้ำสำหรับกังหันไอน้ำถูกต้มโดยตรงจากแกนเครื่องปฏิกรณ์, ตัวอย่างเช่นเครื่องปฏิกรณ์น้ำเดือด ({{lang-en|boiling water reactor (BWR)}})<ref name="HSWCOOLANT">{{cite web | title=How nuclear power works |work=HowStuffWorks.com | url= http://science.howstuffworks.com/nuclear-power3.htm | accessdate=25 September 2008}}</ref>.
 
===การควบคุมการเกิดปฏิกิริยา===
เส้น 46 ⟶ 41:
[[แท่งควบคุม]] ({{lang-en|control rod}}) จะทำจากสารดูดซับนิวตรอน หรือที่เรียกว่า neutron poison จะถูกใช้ในการดูดซับนิวตรอน ถ้ามีการดูดซับนิวตรอนมากขึ้นในแกนควบคุมหมายความว่ามีนิวตรอนน้อยลงที่พร้อมจะทำให้เกิดปฏิกิริยาฟิชชัน ดังนั้น การดันแท่งควบคุมลึกเข้าไปในเครื่องปฏิกรณ์จะลดปฏิกิริยาฟิชชั่น การส่งออกพลังงานก็จะลดลงด้วย นั่นก็คือการดึงแท่งควบคุมขึ้นจะเพิ่มการส่งออกให้มากขึ้น
 
ในระดับแรกของการควบคุมในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ทุกเครื่อง, กระบวนการของการปล่อยนิวตรอนที่ล่าช้าจากจำนวนของไอโซโทปฟิชชันที่อุดมด้วยนิวตรอน เป็นกระบวนการทางกายภาพที่สำคัญ นิวตรอนที่ล่าช้าเหล่านี้มีอยู่ประมาณ 0.65% ของนิวตรอนทั้งหมดที่ผลิตในปฏิกิริยาฟิชชั่น, กับส่วนที่เหลืออยู่ (ที่เรียกว่า "prompt neutron") ที่ถูกปล่อยออกทันทีเมื่อเกิดฟิชชัน ผลผลิตจากฟิชชั่นที่ผลิตนิวตรอนล่าช้ามีครึ่งชีวิตในการสลายตัวของพวกมัน โดยการปล่อยนิวตรอนที่หลากหลายจากมิลลิวินาทีจนถึงเวลาหลายนาที. การรักษาเครื่องปฏิกรณ์ให้อยู่ในโซนของห่วงโซ่ปฏิกิริยาที่นิวตรอนล่าช้า เป็นสิ่ง'จำเป็น'เพื่อให้บรรลุสภาวะมวลวิกฤต, เปิดช่วงเวลาให้อุปกรณ์เครื่องกลหรือมนุษย์ผู้ประกอบการที่จะมีเวลาในการควบคุมปฏิกิริยาลูกโซ่ใน "เวลาจริง"; มิฉะนั้นเวลาระหว่างความสำเร็จของวิกฤตและนิวเคลียร์หลอมละลายเป็นผลมาจากไฟกระชากแบบเอ็กโปเนนเชียลจา​​กปฏิกิริยาลูกโซ่นิวเคลียร์ปกติ, จะสั้นเกินไปที่จะยอมให้มีการแทรกแซง.
 
ในเครื่องปฏิกรณ์บางเครื่อง, ตัวหล่อเย็นยังทำหน้าที่เป็น neutron moderator อีกด้วย. neutron moderator จะเพิ่มพลังของเครื่องปฏิกรณ์โดยทำให้นิวตรอนเร็วที่ถูกปล่อยออกมาจากปฏิกิริยาฟิชชั่น สูญเสียพลังงานและกลายเป็นนิวตรอนร้อน. นิวตรอนร้อนมีแนวโน้มที่จะทำให้เกิดปฏิกิริยาฟิชชันได้รวดเร็วกว่านิวตรอนเร็ว. ถ้าตัวหล่อเย็นเป็น moderator, ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิจะมีผลต่อความหนาแน่นของตัวหล่อเย็น/moderator และเพราะฉะนั้นจึงเปลี่ยนพลังงานเอาต์พุต. ตัวหล่อเย็นที่อุณหภูมิสูงจะมีความหนาแน่นน้อย ดังนั้นจึงเป็น moderator ที่มีประสิทธิภาพน้อย.
 
ในเครื่องปฏิกรณ์อื่นๆ ตัวหล่อเย็นทำหน้าที่เป็น poison โดยการดูดซับนิวตรอนในลักษณะเดียวกับที่แท่งควบคุมทำ. ในเครื่องปฏิกรณ์เหล่านี้ พลังงานส่งออกจะสามารถเพิ่มขึ้นโดยการให้ความร้อนตัวหล่อเย็น, ซึ่งทำให้มันมีความหนาแน่นของ poison น้อย. [อ้างจำเป็น] เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์มักจะมีระบบอัตโนมัติและระบบใช้มือในการ [[สแครม|scram]] เครื่องปฏิกรณ์ในกรณีปิดตัวลงฉุกเฉิน. ระบบเหล่านี้จะใส่ poison จำนวนมาก (มักจะเป็นโบรอนในรูปแบบของกรดบอริก) ลงในเครื่องปฏิกรณ์เพื่อปิดปฏิกิริยาฟิชชันลงถ้าเงื่อนไขที่ไม่ปลอดภัยมีการตรวจพบ หรือที่คาดว่าจะไม่ปลอดภัย<ref name="TOURISTRP">{{cite web |title=Reactor Protection & Engineered Safety Feature Systems |work=The Nuclear Tourist |url= http://www.nucleartourist.com/systems/rp.htm |accessdate=25 September 2008}}</ref>.
 
ประเภทของเครื่องปฏิกรณ์ส่วนใหญ่มีความไวต่อกระบวนการที่เรียกว่า xenon poisoning, หรือหลุมไอโอดีน. Xenon-135 ที่ถูกผลิตขึ้นในขั้นตอนฟิชชั่นจะทำหน้าที่เป็น "neutron poison" ที่ดูดซับนิวตรอนและดังนั้นจึงมีแนวโน้มที่จะปิดเครื่องปฏิกรณ์ลง. การสะสมของ Xenon-135 สามารถควบคุมได้โดยการรักษาระดับพลังงานให้สูงพอที่จะทำลายมันให้เร็วที่สุดเท่าที่มันถูกผลิตออกมา. ฟิชชั่นยังผลิตไอโอดีน-135 อีกด้วย ซึ่งส่งผลให้สลายตัว(ทีมีครึ่งชีวิตต่ำกว่าเจ็ดชั่วโมง) เป็นซีนอน-135 ใหม่. เมื่อเครื่องปฏิกรณ์ถูกปิดตัวลง, ไอโอดีน-135 ยังคงสลายตัวไปเป็นซีนอน-135, ทำให้การรีสตาร์ทเครื่องปฏิกรณ์ยากมากขึ้นเป็นหนึ่งหรือสองวัน. สถานะชั่วคราวนี้คือ "หลุมไอโอดีน". ถ้าเครื่องปฏิกรณ์ที่มีความสามารถในการเกิดปฏิกิริยาส่วนเกินมากเพียงพอ, มันก็สามารถเริ่มต้นใหม่ได้. เมื่อซีนอน-135 ส่วนเกินจะถูกแปรไปเป็นซีนอน-136 ซึ่งไม่ใช่ neutron poison, ภายในไม่กี่ชั่วโมงเครื่องปฏิกรณ์จะประสบกับ "xenon burnoffburn-off (power) transient". แท่งควบคุมจะต้องถูกกดให้ลึกมากขึ้นเพื่อแทนที่การดูดซึมของนิวตรอนจากซีนอน-135 ที่หายไป. ความล้มเหลวในการทำตามขั้นตอนดังกล่าวอย่างถูกต้องเป็นขั้นตอนสำคัญในการเกิด[[ภัยพิบัติเชอร์โนบิล]]<ref>{{cite web |url=http://www.eepublishers.co.za/images/upload/Meyer%20Chernobyl%205.pdf |title=
Chernobyl: what happened and why? by CM Meyer, technical journalist. pdf}}</ref>.
 
เครื่องปฏิกรณ์ที่ใช้ใน'การขับเคลื่อนนิวเคลียร์ทางทะเล' (โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เรือดำน้ำนิวเคลียร์) มักจะไม่สามารถทำงานที่กำลังไฟต่อเนื่องตลอดเวลา ในลักษณะเดียวกับเครื่องปฏิกรณ์พลังงานบนบกที่ทำงานได้ตามปกติ และนอกจากนี้มักจะต้องมีอายุของแกนที่ยาวมากโดยไม่ต้องเติมเชื้อเพลิง. ด้วยเหตุผลนี้ การออกแบบจำนวนมากจะใช้ยูเรเนียมสมรรถนะสูง แต่รวม neutron poison ที่ใหม้ไฟได้ลงในแท่งเ​​ชื้อเพลิงโดยตรง<ref>{{cite book|last1=Tsetkov|first1=Pavel|last2=Usman|first2=Shoaib|editor=Krivit, Steven|title=Nuclear Energy Encyclopedia: Science, Technology, and Applications|year=2011|publisher=Wiley|location=Hoboken, NJ|isbn=978-0-470-89439-2|pages=48; 85}}</ref>. วิธีการนี้จะช่วยให้เครื่องปฏิกรณ์สามารถถูกสร้างด้วยส่วนเกินของวัสดุที่ฟิชชั่นได้, ซึ่งอย่างไรก็ดี ถูกทำให้ค่อนข้างปลอดภัยมากขึ้นในช่วงต้นของวงจรการเผาเชื้อเพลิงของเครื่องปฏิกรณ์ ด้วยการปรากฏตัวของวัสดุที่ดูดกลืนนิวตรอน, ที่หลังจากนั้นมีการแทนที่ด้วย neutron poison อายุยาวที่ผลิตขึ้นตามธรรมชาติ (อายุยาวนานกว่าซีนอน-135 มาก) ซึ่งค่อยๆสะสมตลอดช่วงอายุการใช้งานโหลดเชื้อเพลิง
 
===การผลิตพลังงานไฟฟ้า===
พลังงานที่ปล่อยออกมาในขั้นตอนฟิชชั่นจะสร้างความร้อน, บางส่วนสามารถแปลงเป็นพลังงานที่ใช้งานได้. วิธีการธรรมดาในการใช้ประโยชน์พลังงานความร้อนนี้ก็คือ จะใช้ในการต้มน้ำเพื่อผลิตไอน้ำแรงดันสูงซึ่งจะนำไปผลักดันกังหันไอน้ำที่จะหมุนตัว alternator และผลิตกระแสไฟฟ้า<ref name="TOURISTRP"/>.
 
==เครื่องปฏิกรณ์ในช่วงต้น==
เส้น 64 ⟶ 59:
{{see| นิวเคลียร์ฟิชชั่น-ประวัติ}}
 
นิวตรอนถูกค้นพบในปี 1932. แนวคิดของปฏิกิริยาลูกโซ่นิวเคลียร์ที่ทำให้เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ถูกสร้างขึ้นโดยนิวตรอนเป็นสื่อกลาง, ถูกค้นพบครั้งแรกโดยนักวิทยาศาสตร์ฮังการี Leó Szilárd, ในปี 1933. เขายื่นจดสิทธิบัตรสำหรับความคิดของเขาในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ง่ายในปีต่อมา ขณะที่เขาทำงานที่กระทรวงทหารเรือในกรุงลอนดอน<ref>L. Szilárd, [http://v3.espacenet.com/textdoc?DB=EPODOC&IDX=GB630726 "Improvements in or relating to the transmutation of chemical elements,"] British patent number: GB630726 (filed: 28 June 1934; published: 30 March 1936).</ref>. อย่างไรก็ตามความคิด Szilárd ไม่ได้รวมความคิดของนิวเคลียร์ฟิชชั่นว่าเป็นแหล่งของนิวตรอน, เนื่องจากกระบวนการนั้นยังไม่ได้ถูกค้นพบ. ความคิดของ Szilárd สำหรับเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์โดยการใช้ปฏิกิริยาลูกโซ่นิวเคลียร์ ที่กำเนิดจากนิวตรอนเป็นสื่อกลางในองค์ประกอบเบาได้พิสูจน์แล้วว่าทำงานไม่ได้.
 
[[ไฟล์:Otto Hahn und Lise Meitner.jpg|thumb|170px|Lise Meitner และ Otto Hahn ในห้องปฏิบัติการของพวกเขา]]
แรงบันดาลใจสำหรับรูปแบบใหม่ของเครื่องปฏิกรณ์ที่ใช้ยูเรเนียมมาจากการค้นพบของลีซ ไมต์เนอ, ฟริตซ์ Strassmann และอ็อตโต ฮาห์นในปี 1938 ที่การระดมโจมตีของยูเรเนียมด้วยนิวตรอน (ที่จัดการโดยปฏิกิริยาอัลฟาในเบริลเลียมฟิวชั่น "ปืนครกนิวตรอน") ที่ผลิตสารตกค้างแบเรียม, ซึ่งพวกเขาให้เหตุผลที่ถูกสร้างขึ้นโดยการทำฟิชชั่นของนิวเคลียสของยูเรเนียม. การศึกษาต่อในช่วงต้นปี 1939 (หนึ่งของการศึกษานี้ทำโดย Szilárd และ Fermi) เปิดเผยว่าหลายนิวตรอนได้รับการปล่อยตัวในระหว่างการทำฟิชชั่น, ทำให้มีโอกาสในการเกิดปฏิกิริยาลูกโซ่นิวเคลียร์ที่ Szilárd ได้จินตนาการไว้หกปีก่อนหน้านี้
 
เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 1939 Albert Einstein ลงนามในจดหมายถึงประธานาธิบดีโรสเวลต์ (เขียนโดย Szilárd) แนะนำว่าการค้นพบของการฟิชชั่นของยูเรเนียมอาจนำไปสู่​​การพัฒนาของ "ระเบิดที่มีประสิทธิภาพสูงมากของรูปแบบใหม่", เพื่อเป็นแรงผลักดันให้ทำการศึกษาเครื่องปฏิกรณ์และฟิชชั่น. Szilárd และ Einstein รู้กันดีและได้ทำงานร่วมกันหลายปีก่อน, แต่ Einstein ไม่เคยคิดเกี่ยวกับความเป็นไปได้ในการใช้พลังงานนิวเคลียร์นี้จนกระทั่งซิลาร์ดรายงานมันกับเขา, ที่จุดเริ่มต้นของการแสวงหาของเขาในการเขียน'จดหมาย Einstein-Szilárd' เพื่อแจ้งเตือนรัฐบาลสหรัฐ
แรงบันดาลใจสำหรับรูปแบบใหม่ของเครื่องปฏิกรณ์ที่ใช้ยูเรเนียมมาจากการค้นพบของลีซ ไมต์เนอ, ฟริตซ์ Strassmann และอ็อตโต ฮาห์นในปี 1938 ที่การระดมโจมตีของยูเรเนียมด้วยนิวตรอน (ที่จัดการโดยปฏิกิริยาอัลฟาในเบริลเลียมฟิวชั่น "ปืนครกนิวตรอน") ที่ผลิตสารตกค้างแบเรียม, ซึ่งพวกเขาให้เหตุผลที่ถูกสร้างขึ้นโดยการทำฟิชชั่นของนิวเคลียสของยูเรเนียม. การศึกษาต่อในช่วงต้นปี 1939 (หนึ่งของการศึกษานี้ทำโดย Szilárd และ Fermi) เปิดเผยว่าหลายนิวตรอนได้รับการปล่อยตัวในระหว่างการทำฟิชชั่น, ทำให้มีโอกาสในการเกิดปฏิกิริยาลูกโซ่นิวเคลียร์ที่ Szilárd ได้จินตนาการไว้หกปีก่อนหน้านี้.
 
ไม่นานหลังจากเยอรมนีของฮิตเลอร์บุกโปแลนด์ในปี 1939, เริ่มต้นสงครามโลกครั้งที่สองในยุโรป. สหรัฐอเมริกาก็ยังไม่อยู่ในภาวะสงครามอย่างเป็นทางการ, แต่ในเดือนตุลาคม, เมื่อจดหมาย Einstein-Szilárd ถูกส่งไปยังโรสเวล, เขาให้ความเห็นว่าวัตถุประสงค์ของการทำวิจัยคือเพื่อให้แน่ใจว่า "พวกนาซีจะไม่ระเบิดเราทิ้ง". โครงการนิวเคลียร์ของสหรัฐอเมริกาก็ตามมา, แม้ว่าจะมีความล่าช้าบางอย่างที่ยังถูกมองในแง่ร้าย (บางส่วนจาก Fermi) และยังมีการดำเนินการเพียงเล็กน้อยจากเจ้าหน้าที่ในรัฐบาลบางคน ที่ถูกกล่าวหาในตอนแรกว่ามีการเลื่อนโครงการไปข้างหน้า
เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 1939 Albert Einstein ลงนามในจดหมายถึงประธานาธิบดีโรสเวลต์ (เขียนโดย Szilárd) แนะนำว่าการค้นพบของการฟิชชั่นของยูเรเนียมอาจนำไปสู่​​การพัฒนาของ "ระเบิดที่มีประสิทธิภาพสูงมากของรูปแบบใหม่", เพื่อเป็นแรงผลักดันให้ทำการศึกษาเครื่องปฏิกรณ์และฟิชชั่น. Szilárd และ Einstein รู้กันดีและได้ทำงานร่วมกันหลายปีก่อน, แต่ Einstein ไม่เคยคิดเกี่ยวกับความเป็นไปได้ในการใช้พลังงานนิวเคลียร์นี้จนกระทั่งซิลาร์ดรายงานมันกับเขา, ที่จุดเริ่มต้นของการแสวงหาของเขาในการเขียน'จดหมาย Einstein-Szilárd'เพื่อแจ้งเตือนรัฐบาลสหรัฐ .
 
ปีต่อมา รัฐบาลสหรัฐได้รับบันทึก Frisch-Peierls จากสหราชอาณาจักรที่ระบุว่าปริมาณของยูเรเนียม ที่จำเป็นสำหรับปฏิกิริยาลูกโซ่จะต่ำกว่าที่คิดไว้ก่อนหน้านี้มาก บันทึกถูกเขียนขึ้นโดย 'คณะกรรมการ MAUD' ซึ่งกำลังทำงานในโครงการระเบิดปรมาณูของสหราชอาณาจักรที่เรียกว่า Tube Alloys หลังจากนั้นจะถูกควบรวมอยู่ภายใน 'โครงการแมนฮัตตัน'
ไม่นานหลังจากเยอรมนีของฮิตเลอร์บุกโปแลนด์ในปี 1939, เริ่มต้นสงครามโลกครั้งที่สองในยุโรป. สหรัฐอเมริกาก็ยังไม่อยู่ในภาวะสงครามอย่างเป็นทางการ, แต่ในเดือนตุลาคม, เมื่อจดหมาย Einstein-Szilárd ถูกส่งไปยังโรสเวล, เขาให้ความเห็นว่าวัตถุประสงค์ของการทำวิจัยคือเพื่อให้แน่ใจว่า "พวกนาซีจะไม่ระเบิดเราทิ้ง". โครงการนิวเคลียร์ของสหรัฐอเมริกาก็ตามมา, แม้ว่าจะมีความล่าช้าบางอย่างที่ยังถูกมองในแง่ร้าย (บางส่วนจาก Fermi) และยังมีการดำเนินการเพียงเล็กน้อยจากเจ้าหน้าที่ในรัฐบาลบางคนที่ถูกกล่าวหาในตอนแรกว่ามีการเลื่อนโครงการไปข้างหน้า
 
ปีต่อมา รัฐบาลสหรัฐได้รับบันทึก Frisch-Peierls จากสหราชอาณาจักรที่ระบุว่าปริมาณของยูเรเนียมที่จำเป็นสำหรับปฏิกิริยาลูกโซ่จะต่ำกว่าที่คิดไว้ก่อนหน้านี้มาก. บันทึกถูกเขียนขึ้นโดย 'คณะกรรมการ MAUD'ซึ่งกำลังทำงานในโครงการระเบิดปรมาณูของสหราชอาณาจักรที่เรียกว่า Tube Alloys หลังจากนั้นจะถูกควบรวมอยู่ภายใน'โครงการแมนฮัตตัน'
 
[[ไฟล์:ChicagoPileTeam.png|right|thumb|ทีมงาน'เสาเข็มชิคาโก'ประกอบด้วยเอนรีโก Fermi และลีโอ Szilárd]]
ในที่สุดเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์เทียมเครื่องแรก, Chicago Pile-1, ถูกสร้างขึ้นที่มหาวิทยาลัยชิคาโก, โดยทีมงานที่นำโดยเอนรีโก Fermi ในปลายปี 1942. ในเวลานั้น โครงการได้รับการกดดันเป็นปีโดยการเข้าร่วมในสงครามของสหรัฐ. โครงการเสาเข็มชิคาโกประสบความสำเร็จขั้น'มวลวิกฤต'ในวันที่ 2 ธันวาคม 1942<ref>The First Reactor, U.S. Atomic Energy Commission, Division of Technical Information</ref> เวลา 15:25 น. โครงสร้างที่รองรับเครื่องปฏิกรณ์ทำจากไม้, ซึ่งรองรับเสาเข็ม (จึงเป็นที่มาของชื่อ)ทำด้วยบล็อกแกรไฟท์, ที่ภายในถูกฝังด้วยยูเรเนียมออกไซด์ธรรมชาติรูป 'pseudospheres' หรือ 'ลูกกลม'.
 
ไม่นานหลังจากโครงการเสาเข็มชิคาโก, กองทัพสหรัฐได้พัฒนาเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์จำนวนมากสำหรับ'โครงการแมนฮัตตัน'ที่จะเริ่มในปี 1943. วัตถุประสงค์หลักสำหรับเครื่องปฏิกรณ์ขนาดใหญ่ที่สุด (ติดตั้งที่ Hanford ในรัฐวอชิงตัน) ก็คือเพื่อผลิตพลูโตเนียมจำนวนมากๆสำหรับอาวุธนิวเคลียร์. Fermi และ Szilard ยื่นจดสิทธิบัตรสำหรับเครื่องปฏิกรณ์ในวันที่ 19 ธันวาคม 1944. การอนุมัติถูกเลื่อนออกไปเป็นเวลา 10 ปีเพราะเป็นความลับของสงคราม<ref>{{US Patent|2708656}} "Neutronic Reactor " issued 17 May 1955</ref>.
 
"โรงไฟฟ้​​านิวเคลียร์แห่งแรกของโลก" ถูกอ้างสิทธ์โดยสัญญลักษณ์ที่สถานที่ติดตั้งของ EBR-I, ซึ่งปัจจุบันเป็นพิพิธภัณฑ์ใกล้ Arco, รัฐไอดาโฮ. แต่เดิมเรียกว่า "Chicago Pile-5", มันดำเนินการภายใต้การดูแลของวอลเตอร์ ซินน์ สำหรับ'ห้องปฏิบัติการแห่งชาติอาร์กอน'<ref>[http://www.ne.anl.gov/About/hn/news960320.shtml Argonne’s Nuclear Science and Technology Legacy: Chicago Pile reactors create enduring research legacy]</ref>. การทดลองกับเครื่องปฏิกรณ์แบบ LMFBR (liquid metal fast breeder reactor)นี้ดำเนินการโดย'คณะกรรมการพลังงานปรมาณูสหรัฐอเมริกา'ที่ผลิต 0.8 กิโลวัตต์ในการทดสอบครั้งหนึ่งเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 1951<ref>[https://inlportal.inl.gov/portal/server.pt/gateway/PTARGS_0_200_816_259_0_43/http%3B/inlpublisher%3B7087/publishedcontent/publish/communities/inl_gov/about_inl/home_page_fact_sheets/sheets/experimental_breeder_reactor___i_4.pdf Experimental Breeder Reactor 1 factsheet], Idaho National Laboratory</ref> และ 100 กิโลวัตต์ (ไฟฟ้า) ในวันรุ่งขึ้น<ref>{{cite web | url=http://www.ans.org/pubs/magazines/nn/docs/2001-11-2.pdf | title=Fifty years ago in December: Atomic reactor EBR-I produced first electricity | publisher=American Nuclear Society Nuclear news | date=November 2001}}</ref>, ด้วยการออกแบบที่มีกำลังการส่งออกที่ 200 กิโลวัตต์ (ไฟฟ้า)
 
นอกเหนือจากการใช้งานเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ในทางทหาร, ยังมีเหตุผลทางการเมืองที่จะติดตามการใช้งานพลังงานปรมาณูด้านพลเรือน. ประธานาธิบดีสหรัฐ ดไวต์ ไอเซนฮาว ได้กล่าวสุนทรพจน์เกี่ยวกับ 'พลังงานปรมาณูเพื่อสันติ' ที่มีชื่อเสียงของเขาที่ 'สมัชชาใหญ่องค์การสหประชาชาติ' เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 1953. ศิลปะทางการทูตแบบนี้นำไปสู่​​การแพร่กระจายของเทคโนโลยีเครื่องปฏิกรณ์ให้กับสถาบันต่างๆของสหรัฐอเมริกาและทั่วโลก
 
โรงไฟฟ้​​านิวเคลียร์แห่งแรกที่สร้างขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ทางพลเรือนคือโรงไฟฟ้​​านิวเคลียร์ AM-1 Obninsk, เปิดตัววันที่ 27 มิถุนายน 1954 ในสหภาพโซเวียต. มันผลิตไฟฟ้าได้ประมาณ 5 เมกะวัตต์.
 
หลังสงครามโลกครั้งที่สอง, ทหารสหรัฐขอใช้เทคโนโลยีเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ในกิการอื่นๆ.กิการอื่น ๆ การวิจัยโดยกองทัพบกและกองทัพอากาศไม่เคยบรรลุผล; แต่กองทัพเรือสหรัฐประสบความสำเร็จเมื่อพวกเขาจ่ายพลังงานไอน้ำให้กับเรือ ยูเอสเอส Nautilus (SSN-571) ด้วยพลังงานนิวเคลียร์ในวันที่ 17 มกราคม 1955.
 
สถานีไฟฟ้านิวเคลียร์เชิงพาณิชย์สถานีแรกคือ Calder Hall ใน Sellafield, อังกฤษถูกเปิดในปี 1956 มีกำลังการผลิตเริ่มต้นจาก 50 เมกะวัตต์ (200 MW ในภายหลัง)<ref name=Kragh>{{cite book |last=Kragh|first=Helge |title=Quantum Generations: A History of Physics in the Twentieth Century |publisher=Princeton University Press |location=Princeton NJ |year=1999 |page=286 |isbn=0-691-09552-3}}</ref><ref name="bbc17oct">{{cite news |url= http://news.bbc.co.uk/onthisday/hi/dates/stories/october/17/newsid_3147000/3147145.stm |title=On This Day: 17&nbsp;October&nbsp;|accessdate=9 November 2006 |publisher=BBC News | date=17 October 1956}}</ref>.
 
เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบพกพาเครื่องแรกคือ "Alco PM-2A" ใช้ในการสร้างพลังงานไฟฟ้า (2 เมกะวัตต์) ใน Camp Century ในปี 1960<ref>{{cite web | url=http://gombessa.tripod.com/scienceleadstheway/id9.html | title=Science Leads the Way | publisher=Camp Century, Greenland | first=Frank J. | last=Leskovitz}}</ref>.
 
==ส่วนประกอบ==
 
[[ไฟล์:Pulstar1.jpg|thumb|right|ห้องควบคุมของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ Pulstar ของมหาวิทยาลัยแห่งรัฐ North Carolina]]
 
เส้น 122 ⟶ 115:
* ระบบควบคุมของเหลวสำรอง (การฉีดโบรอนฉุกเฉิน, เฉพาะใน BWRs เท่านั้น)
* ระบบน้ำบริการหลัก ({{lang-en|Essential service water system (ESWS)}})
* อาคารคลุมเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ ({{lang-en|Containment building}}) อาคารหรือสิ่งก่อสร้างชั้นนอกที่ออกแบบให้มีความแข็งแรงเป็นพิเศษ เพื่อป้องกันเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์จากอุบัติภัยภายนอก และเพื่อไม่ให้สารกัมมันตรังสีแพร่กระจายออกสู่สิ่งแวดล้อม กรณีเกิดอุบัติเหตุภายในอาคารหรือสิ่งกักกั้นชำรุดหรือเสียหาย<ref>http://thaiglossary.org/search/containment</ref>
* ห้องควบคุม
* สิ่งอำนวยความสะดวกการดำเนินงานฉุกเฉิน
เส้น 128 ⟶ 121:
 
==ประเภทของเครื่องปฏิกรณ์==
 
[[ไฟล์:Pulstar2.jpg|thumb|right|เครื่องปฏิกรณ์ Pulstar ของมหาวิทยาลัยแห่งรัฐนอร์ทแคโรไลนาเป็นเครื่องปฏิกรณ์วิจัยขนาด 1 เมกะวัตต์ประเภท pool-type ที่ใช้เชื้อเพลิงสมรรถนะ 4% แบบ pin-type ที่ประกอบด้วยเม็ด '''UO<sub>2</sub>''' ในตัวหุ้ม zircaloy]]
 
เส้น 135 ⟶ 127:
 
====การจัดหมวดหมู่ตามประเภทของปฏิกิริยานิวเคลียร์====
* นิวเคลียร์ฟิชชั่น. เครื่องปฏิกรณ์พลังงานเชิงพาณิชย์ทั้งหมดจะใช้ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชั่น โดยทั่วไปจะใช้ยูเรเนียมและผลิตผลของมันซึ่งได้แก่พลูโตเนียมเป็นเชื้อเพลิงนิวเคลียร์, แม้ว่าวัฏจักรเชื้อเพลิงทอเรียมก็สามารถนำมาใช้ได้ เครื่องปฏิกรณ์ฟิชชั่นสามารถแบ่งออกหยาบ ๆ เป็นสองระดับชั้น, ขึ้นอยู่กับพลังงานของนิวตรอนที่รักษาปฏิกิริยาลูกโซ่ฟิชชั่น:
 
** 'เครื่องปฏิกรณ์ความร้อน' (เป็นชนิดที่พบมากที่สุดของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์) ใช้นิวตรอนที่วิ่งช้าหรือนิวตรอนความร้อนเพื่อรักษาสภาวะการฟิชชั่นของเชื้อเพลิงของพวกมัน เครื่องปฏิกรณ์เกือบทั้งหมดในปัจจุบันเป็นประเภทนี้ เครื่องเหล่านี้จะติดตั้งวัสดุที่เป็นตัวหน่วงนิวตรอน ({{lang-en|neutron moderator}}) ที่จะทำให้นิวตรอนช้าลงจนกระทั่ง'อุณหภูมินิวตรอน'ของพวกมันจะ thermalized, นั่นคือ, จนกระทั่งพลังงานจลน์ของพวกมันเคลื่อนเข้าสู่พลังงานจลน์เฉลี่ยของอนุภาคโดยรอบ นิวตรอนร้อนมีหน้าตัดนิวเคลียร์ (ความน่าจะเป็น)ที่ใหญ่กว่ามากๆ ของการเกิดฟิชชั่นบนนิวเคลียสที่มีคุณสมบัติทำฟิชชั่นได้ เช่นยูเรเนียม-235, พลูโตเนียม-239, และพลูโตเนียม-241, และความน่าจะเป็นที่ค่อนข้างต่ำกว่าของ'การจับนิวตรอน'โดยยูเรเนียม-238 (U-238) เมื่อเทียบกับนิวตรอนที่เร็วกว่าที่มาเป็นผลแต่เดิมมาจากการฟิชชั่น, เป็นการยอมให้สามารถใช้ยูเรเนียมสมรรถนะต่ำหรือเชื้อเพลิงยูเรเนียมธรรมชาติด้วยซ้ำ ตัวหน่วงนิวตรอนมักจะเป็นตัวหล่อเย็นอีกด้วย, ปกติจะเป็นน้ำความดันสูงเพื่อเพิ่มจุดเดือด อุปกรณ์เหล่านี้จะถูกล้อมรอบด้วยอ่างปฏิกรณ์ ({{lang-en|reactor vessel}}), เครื่องมือเฝ้าดูและควบคุมเครื่องปฏิกรณ์, โลห์ป้องกันรังสี, และอาคารคลุมเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์
* นิวเคลียร์ฟิชชั่น. เครื่องปฏิกรณ์พลังงานเชิงพาณิชย์ทั้งหมดจะใช้ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชั่น. โดยทั่วไปจะใช้ยูเรเนียมและผลิตผลของมันซึ่งได้แก่พลูโตเนียมเป็นเชื้อเพลิงนิวเคลียร์, แม้ว่าวัฏจักรเชื้อเพลิงทอเรียมก็สามารถนำมาใช้ได้. เครื่องปฏิกรณ์ฟิชชั่นสามารถแบ่งออกหยาบๆเป็นสองระดับชั้น, ขึ้นอยู่กับพลังงานของนิวตรอนที่รักษาปฏิกิริยาลูกโซ่ฟิชชั่น:
** 'เครื่องปฏิกรณ์นิวตรอนเร็ว' ใช้ 'นิวตรอนเร็ว' เพื่อทำให้เกิดปฏิกิริยาฟิชชันในเชื้อเพลิงของพวกมัน พวกมันไม่ได้มีตัวหน่วงนิวตรอน, แต่ใช้สารหล่อเย็นที่มีตัวหน่วงน้อย การรักษาปฏิกิริยาลูกโซ่ให้คงไว้ต้องใช้เชื้อเพลิงที่เป็นวัสดุฟิชชั่นมีสมรรถนะสูงมาก (ประมาณ 20% หรือมากกว่า) อันเนื่องมาจากความน่าจะเป็นที่ค่อนข้างต่ำของการฟิชชั่นเมื่อเทียบกับการจับนิวตรอนโดย U-238 เครื่องปฏิกรณ์เร็วมีศักยภาพในการผลิตของเสียแบบ transuranic น้อยเพราะ actinides ทุกตัวจะสามารถทำฟิชชั่นได้ด้วยนิวตรอนเร็ว<ref>{{cite journal |doi=10.1007/BF00750983 |last1=Golubev|first1=V. I. |last2=Dolgov|first2=Vladimir V. |display-authors=1 |date=January 1993 |title=Fast-reactor actinide transmutation |journal=Atomic Energy |publisher=Springer |location=New York |volume=74 |issue=1 |pages=83–84 |issn=1063-4258}}</ref>, แต่พวกมันจะสร้างยากกว่าและการดำเนินงานมีราคาแพงกว่า โดยรวม เครื่องปฏิกรณ์เร็วจะถูกใช้น้อยกว่าเครื่องปฏิกรณ์ความร้อนในการใช้งานส่วนใหญ่ สถานีพลังงานช่วงต้นบางสถานีเป็นเครื่องปฏิกรณ์เร็วเช่นเดียวกับบางหน่วยเรือลากจูงรัสเซีย การสร้างต้นแบบเป็นไปอย่างต่อเนื่อง (ดู fast breeder หรือเครื่องปฏิกรณ์ generation IV)
** 'เครื่องปฏิกรณ์ความร้อน' (เป็นชนิดที่พบมากที่สุดของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์) ใช้นิวตรอนที่วิ่งช้าหรือนิวตรอนความร้อนเพื่อรักษาสภาวะการฟิชชั่นของเชื้อเพลิงของพวกมัน. เครื่องปฏิกรณ์เกือบทั้งหมดในปัจจุบันเป็นประเภทนี้. เครื่องเหล่านี้จะติดตั้งวัสดุที่เป็นตัวหน่วงนิวตรอน ({{lang-en|neutron moderator}}) ที่จะทำให้นิวตรอนช้าลงจนกระทั่ง'อุณหภูมินิวตรอน'ของพวกมันจะ thermalized, นั่นคือ, จนกระทั่งพลังงานจลน์ของพวกมันเคลื่อนเข้าสู่พลังงานจลน์เฉลี่ยของอนุภาคโดยรอบ. นิวตรอนร้อนมีหน้าตัดนิวเคลียร์ (ความน่าจะเป็น)ที่ใหญ่กว่ามากๆ ของการเกิดฟิชชั่นบนนิวเคลียสที่มีคุณสมบัติทำฟิชชั่นได้ เช่นยูเรเนียม-235, พลูโตเนียม-239, และพลูโตเนียม-241, และความน่าจะเป็นที่ค่อนข้างต่ำกว่าของ'การจับนิวตรอน'โดยยูเรเนียม-238 (U-238) เมื่อเทียบกับนิวตรอนที่เร็วกว่าที่มาเป็นผลแต่เดิมมาจากการฟิชชั่น, เป็นการยอมให้สามารถใช้ยูเรเนียมสมรรถนะต่ำหรือเชื้อเพลิงยูเรเนียมธรรมชาติด้วยซ้ำ. ตัวหน่วงนิวตรอนมักจะเป็นตัวหล่อเย็นอีกด้วย, ปกติจะเป็นน้ำความดันสูงเพื่อเพิ่มจุดเดือด. อุปกรณ์เหล่านี้จะถูกล้อมรอบด้วยอ่างปฏิกรณ์ ({{lang-en|reactor vessel}}), เครื่องมือเฝ้าดูและควบคุมเครื่องปฏิกรณ์, โลห์ป้องกันรังสี, และอาคารคลุมเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์
* นิวเคลียร์ฟิวชัน พลังงานฟิวชั่นเป็นเทคโนโลยีการทดลอง, โดยทั่วไปมีไฮโดรเจนเป็นเชื้อเพลิง ในขณะที่มันไม่เหมาะสำหรับการผลิตไฟฟ้า, ตัวทำปฏิกิริยาฟิวชั่นแบบ Farnsworth-Hirsch ถูกใช้ในการผลิตรังสีนิวตรอน
** 'เครื่องปฏิกรณ์นิวตรอนเร็ว'ใช้'นิวตรอนเร็ว'เพื่อทำให้เกิดปฏิกิริยาฟิชชันในเชื้อเพลิงของพวกมัน. พวกมันไม่ได้มีตัวหน่วงนิวตรอน, แต่ใช้สารหล่อเย็นที่มีตัวหน่วงน้อย. การรักษาปฏิกิริยาลูกโซ่ให้คงไว้ต้องใช้เชื้อเพลิงที่เป็นวัสดุฟิชชั่นมีสมรรถนะสูงมาก (ประมาณ 20% หรือมากกว่า) อันเนื่องมาจากความน่าจะเป็นที่ค่อนข้างต่ำของการฟิชชั่นเมื่อเทียบกับการจับนิวตรอนโดย U-238. เครื่องปฏิกรณ์เร็วมีศักยภาพในการผลิตของเสียแบบ transuranic น้อยเพราะ actinides ทุกตัวจะสามารถทำฟิชชั่นได้ด้วยนิวตรอนเร็ว<ref>{{cite journal |doi=10.1007/BF00750983 |last=Golubev|first=V. I. |coauthors=et al. |date=January 1993 |title=Fast-reactor actinide transmutation |journal=Atomic Energy |publisher=Springer |location=New York |volume=74 |issue=1 |pages=83–84 |issn=1063-4258}}</ref>, แต่พวกมันจะสร้างยากกว่าและการดำเนินงานมีราคาแพงกว่า. โดยรวม เครื่องปฏิกรณ์เร็วจะถูกใช้น้อยกว่าเครื่องปฏิกรณ์ความร้อนในการใช้งานส่วนใหญ่. สถานีพลังงานช่วงต้นบางสถานีเป็นเครื่องปฏิกรณ์เร็วเช่นเดียวกับบางหน่วยเรือลากจูงรัสเซีย. การสร้างต้นแบบเป็นไปอย่างต่อเนื่อง (ดู fast breeder หรือเครื่องปฏิกรณ์ generation IV)
* นิวเคลียร์ฟิวชัน. พลังงานฟิวชั่นเป็นเทคโนโลยีการทดลอง, โดยทั่วไปมีไฮโดรเจนเป็นเชื้อเพลิง. ในขณะที่มันไม่เหมาะสำหรับการผลิตไฟฟ้า, ตัวทำปฏิกิริยาฟิวชั่นแบบ Farnsworth-Hirsch ถูกใช้ในการผลิตรังสีนิวตรอน.
 
===การจำแนกประเภทโดยวัสดุตัวหน่วง===
 
ถูกใช้โดยเครื่องปฏิกรณ์ร้อน:
* เครื่องปฏิกรณ์ที่ใช้แกรไฟท์เป็นตัวหน่วง
* เครื่องปฏิกรณ์ที่ใช้น้ำเป็นตัวหน่วง
** เครื่องปฏิกรณ์ที่ใช้น้ำที่หนักเป็นตัวหน่วง (ใช้ในประเทศแคนาดา<ref>[http://hyperphysics.phy-astr.gsu.edu/Hbase/NucEne/ligwat.html Light water reactor].</ref>).
** เครื่องปฏิกรณ์ที่ใช้น้ำเบาเป็นตัวหน่วง ({{lang-en|Light-water-moderated Reactor (LWR)}}) หรือสั้นๆว่าเครื่องปฏิกรณ์น้ำเบา (เป็นชนิดที่พบมากที่สุดของเครื่องปฏิกรณ์ความร้อน) ใช้น้ำธรรมดาเพื่อหน่วงและหล่อเย็นเครื่องปฏิกรณ์. ที่อุณหภูมิการทำงาน, ถ้าอุณหภูมิของน้ำเพิ่มขึ้น, ความหนาแน่นของมันจะลดลง และนิวตรอนน้อยลงที่วิ่งผ่านมันจะชะลอความเร็ว แต่ก็มากพอที่จะก่อให้เกิดปฏิกิริยาต่อไป. negative feedback จะรักษาอัตราการเกิดปฏิกิริยา. เครื่องปฏิกรณ์แกรไฟท์และน้ำหนักมีแนวโน้มที่จะ thermalised อย่างละเอียดได้ดีกว่าเครื่องปฏิกรณ์น้ำเบา. เนื่องจากมี thermalization ที่ยอดเยี่ยม, ประเภทเหล่านี้สามารถใช้ยูเรเนียมธรรมชาติ/เชื้อเพลิงที่ไม่ถูกปรับสมรรถนะ.
* เครื่องปฏิกรณ์ที่ใช้องค์ประกอบเบาเป็นตัวหน่วง เครื่องปฏิกรณ์เหล่านี้จะถูกหน่วงโดยลิเธียมหรือเบริลเลียม
** เครื่องปฏิกรณ์ที่ใช้เกลือหลอมละลายเป็นตัวหน่วง ({{lang-en|Molten salt reactor (MSR)}}) จะถูกหน่วงโดยองค์ประกอบเบาเช่นลิเธียมหรือเบริลเลียมซึ่งเป็นองค์ประกอบของเกลือ LiF และ BeF<sub>2</sub> ที่เป็นตัวหล่อเย็น/เชื้อเพลิงเมทริกซ์
เส้น 153 ⟶ 143:
* เครื่องปฏิกรณ์ที่มีตัวหน่วงแบบอินทรีย์ ({{lang-en|Organically moderated reactor (OMR)}}) ใช้ biphenyl และ terphenyl เป็นตัวหน่วงและตัวหล่อเย็น
 
====การจำแนกประเภทโดยตัวหล่อเย็น====
 
[[ไฟล์:RIAN archive 450312 Treatment of interior part of reactor frame.jpg|thumb|การบำรุงรักษาส่วนภายในของกรอบเครื่องปฏิกรณ์ VVER-1000 ใน Atommash]]
[[ไฟล์:Thermal reactor diagram.png|thumb|right|ในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ความร้อน (หรือที่เฉพาะเจาะจงคือ LWR) ตัวหล่อเย็นจะทำหน้าที่เป็นตัวหน่วง ที่ต้องชะลอความเร็วนิวตรอน ก่อนที่พวกมันจะสามารถถูกดูดซึมได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยเชื้อเพลิง]]
 
* เครื่องปฏิกรณ์หล่อเย็นด้วยน้ำ, กำลังดำเนินการอยู่ในประเทศสหรัฐอเมริกาทั้งหมด 104 เครื่อง. ในจำนวนนี้ เป็นเครื่องปฏิกรณ์แรงดันน้ำ (PWR) 69 เครื่องและเครื่องปฏิกรณ์น้ำเดือด (BWR) 35 เครื่อง<ref>{{cite web | url=http://www.nei.org/resourcesandstats/nuclear_statistics/usnuclearpowerplants/ | title=U.S. Nuclear Power Plants. General Statistical Information | publisher=Nuclear Energy Institute | accessdate=3 October 2009}}</ref>
[[ไฟล์:Thermal reactor diagram.png|thumb|right|ในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ความร้อน (หรือที่เฉพาะเจาะจงคือ LWR) ตัวหล่อเย็นจะทำหน้าที่เป็นตัวหน่วงที่ต้องชะลอความเร็วนิวตรอนก่อนที่พวกมันจะสามารถถูกดูดซึมได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยเชื้อเพลิง]]
 
* เครื่องปฏิกรณ์หล่อเย็นด้วยน้ำ, กำลังดำเนินการอยู่ในประเทศสหรัฐอเมริกาทั้งหมด 104 เครื่อง. ในจำนวนนี้ เป็นเครื่องปฏิกรณ์แรงดันน้ำ (PWR) 69 เครื่องและเครื่องปฏิกรณ์น้ำเดือด (BWR) 35 เครื่อง<ref>{{cite web | url=http://www.nei.org/resourcesandstats/nuclear_statistics/usnuclearpowerplants/ | title=U.S. Nuclear Power Plants. General Statistical Information | publisher=Nuclear Energy Institute | accessdate=3 October 2009}}</ref>.
** เครื่องปฏิกรณ์แรงดันน้ำ (PWR), เป็นส่วนใหญ่ของโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ของประเทศตะวันตกทั้งหมด
*** ลักษณะหลักของ PWRs คือตัวสร้างแรงดันที่เรียกว่า อ่างแรงดันเชี่ยวชาญ ({{lang-en|specialized pressure vessel}}). PWRs ในเชิงพาณิชย์และเครื่องปฏิกรณ์ในเรือส่วนใหญ่ใช้ตัวสร้างแรงดัน. ในระหว่างการดำเนินงานปกติ, ตัวสร้างแรงดันถูกเติมบางส่วนด้วยน้ำ, และฟองไอน้ำจะถูกเก็บไว้เหนือมันโดยการให้ความร้อนกับน้ำด้วยเครื่องทำความร้อนที่จมอยู่ใต้น้ำ. ในระหว่างการดำเนินงานปกติ, ตัวสร้างแรงดันถูกเชื่อมต่อกับอ่างความดันเครื่องปฏิกรณ์ ({{lang-en|reactor pressure vessel (RPV)}}) หลักและ "ฟอง" ของตัวสร้างแรงดันจะสร้างพื้นที่การขยายตัวสำหรับการเปลี่ยนแปลงของปริมาณน้ำในเครื่องปฏิกรณ์. การตระเตรียมแบบนี้ยังสร้างมาตรการการควบคุมความดันสำหรับเครื่องปฏิกรณ์ โดยการเพิ่มหรือการลดแรงดันไอน้ำในตัวสร้างแรงดันโดยการใช้เครื่องทำความร้อนในตัวสร้างแรงดัน.
*** เครื่องปฏิกรณ์แรงดันน้ำหนักเป็นส่วนหนึ่งของเครื่องปฏิกรณ์แรงดันน้ำ, มีการใช้ร่วมกันของลูปขนส่งความร้อนที่ถูกอัดความดันที่แยกจากกัน แต่ใช้น้ำหนักเป็นสารหล่อเย็นและเป็นตัวหน่วงสำหรับประหยัดนิวตรอนได้มากขึ้น
** เครื่องปฏิกรณ์น้ำเดือด (BWR)
*** BWRs จะมีน้ำเดือดรอบแท่งเชื้อเพลิงในส่วนล่างของถังความดันของเครื่องปฏิกรณ์ขั้นต้น. เครื่องปฏิกรณ์น้ำเดือดใช้ <sup>235</sup>U, ที่ถูกเสริมสถานะเป็นยูเรเนียมไดอ็อกไซด์, เป็นเชื้อเพลิงของมัน. เชื้อเพลิงถูกประกอบขึ้นเป็นแท่งๆตั้งอยู่ในถังเหล็กที่จมอยู่ในน้ำ. นิวเคลียร์ฟิชชั่นจะทำให้น้ำเดือด, สร้างไอน้ำขึ้น. ไอน้ำนี้จะไหลผ่านท่อเข้าสู่กังหัน. กังหันจะถูกขับเคลื่อนด้วยไอน้ำและกระบวนการนี้สร้างกระแสไฟฟ้า<ref name="nuclear_energy">{{cite web | last1=Lipper | first1=Ilan | first2=Jon | last2=Stone | url=http://www.umich.edu/~gs265/society/nuclear.htm | title=Nuclear Energy and Society | work=University of Michigan | accessdate=3 October 2009}}</ref>. ในระหว่างการดำเนินงานปกติ ความดันจะถูกควบคุมโดยปริมาณของไอน้ำที่ไหลจากถังแรงดันเครื่องปฏิกรณ์ไปยังกังหัน.
** เครื่องปฏิกรณ์ประเภท Pool
* เครื่องปฏิกรณ์หล่อเย็นด้วยโลหะเหลว. เนื่องจากน้ำเป็นตัวหน่วงอย่างหนึ่ง, มันไม่สามารถถูกนำมาใช้เป็นตัวหล่อเย็นในเครื่องปฏิกรณ์เร็ว. สารหล่อเย็นแบบโลหะเหลวได้แก่โซเดียม, NaK, ตะกั่ว, ตะกั่วบิสมัทยูเทคติก, และในเครื่องปฏิกรณ์รุ่นแรกๆแรก ๆ , ปรอท.
** เครื่องปฏิกรณ์เร็วหล่อเย็นด้วยโซเดียม
** เครื่องปฏิกรณ์เร็วหล่อเย็นด้วยตะกั่ว
* เครื่องปฏิกรณ์หล่อเย็นด้วยแก๊ส จะระบายความร้อนด้วยแก๊สเฉื่อยหมุนเวียน, มักเป็นฮีเลียมในการออกแบบที่อุณหภูมิสูง, ในขณะที่ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มีการใช้ในโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ที่ผ่านมาของอังกฤษและฝรั่งเศส. ไนโตรเจนก็ถูกใช้เช่นกัน. [อ้างจำเป็น] การใช้ประโยชน์จากความร้อนแตกต่างกันไป, ขึ้นอยู่กับเครื่องปฏิกรณ์. เครื่องปฏิกรณ์บางเครื่องทำงานจนร้อนพอที่จะทำให้แก๊สสามารถให้พลังงานกังหันแก๊สได้โดยตรง. การออกแบบที่เก่ามากกว่ามักจะผ่านแก๊สไปที่ตัวแลกเปลี่ยนความร้อน ({{lang-en|heat exchanger}}) เพื่อสร้างไอน้ำสำหรับกังหันไอน้ำ.
* เครื่องปฏิกรณ์เกลือหลอมละลาย (MSRs) จะถูกระบายความร้อนด้วยการหมุนเวียนเกลือหลอมละลาย, ได้แก่ส่วนผสมยูเทคติกของเกลือฟลูออไรเช่น FLiBe. ใน MSR ทั่วไป, ตัวหล่อเย็นยังถูกใช้เป็นเมทริกซ์ในที่ซึ่งวัตถุฟิชชั่นจะละลาย.
====การจำแนกประเภทโดยรุ่น====
เส้น 178 ⟶ 166:
* เครื่องปฏิกรณ์ Generation IV (เทคโนโลยียังอยู่ระหว่างการพัฒนา, ไม่ทราบวันที่เริ่มต้น, อาจเสร็จในปี 2030)
"Gen IV" ถูกขนานนามโดยกระทรวงพลังงานสหรัฐ (DOE) สำหรับการพัฒนารูปแบบโรงงานใหม่ในปี 2000<ref>{{cite web | url=http://www.euronuclear.org/info/generation-IV.htm | title=Generation IV | publisher=Euronuclear.org | accessdate=18 March 2011}}</ref>. ในปี 2003 Commissariat à l'Énergie Atomique]] (CEA) ของฝรั่งเศส เป็นคนแรกที่อ้างถึง Gen II ในวารสาร Nucleonics Week<ref>Nucleonics Week, Vol. 44, No. 39; Pg. 7, 25 September 2003 Quote: "Étienne Pochon, CEA director of nuclear industry support, outlined EPR's improved performance and enhanced safety features compared to the advanced Generation II designs on which it was based."</ref>, การกล่าวขวัญครั้งแรกของ Gen III ก็เกิดขึ้นในปี 2000 ร่วมกับการเปิดตัวของแผน Generation IV International Forum (GIF).
 
====การจำแนกประเภทโดยขั้นตอนของเชื้อเพลิง====
เส้น 197 ⟶ 185:
** ความร้อนเพื่อให้ความอบอุ่นในชุมชนและเพื่อการอุตสาหกรรม
** การผลิตไฮโดรเจนสำหรับการใช้งานในระบบ[[เศรษฐกิจไฮโดรเจน]]
* เครื่องปฏิกรณ์การผลิตสำหรับการแปลงสภาพ ({{lang-en|transmutation}}) ขององค์ประกอบ
** เครื่องปฏิกรณ์ Breeder ที่มีความสามารถในการผลิตสารฟิชชั่นได้มากขึ้นกว่าที่พวกมันจะบริโภค ในระหว่างการเกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ฟิชชัน (โดยการแปลง U-238 สมรรถนะสูงให้เป็น Pu-239 หรือ Th-232 สมรรถนะสูงให้เป็น U-233). ดังนั้น เครื่องปฏิกรณ์ยูเรเนียม Breeder, ทันทีที่มันทำงาน, มันจะสามารถทำงานได้ด้วยเชื้อเพลิงยูเรเนียมธรรมชาติหรือแม้แต่ยูเรเนียมที่สลายตัวหมดได้, และเครื่องปฏิกรณ์ทอเรียม Breeder ก็จะสามารถทำงานได้ด้วยเชื้อเพลิงทอเรียม; อย่างไรก็ตาม มันต้องการสต็อกเริ่มต้นของวัสดุฟิชชั่น<ref name="Gen4">{{PDFlink |[http://www.gen-4.org/PDFs/GenIVRoadmap.pdf A Technology Roadmap for Generation IV Nuclear Energy Systems] |4.33&nbsp;MB}}; see "Fuel Cycles and Sustainability"</ref>
** การสร้างไอโซโทปกัมมันตรังสีต่างๆต่าง ๆ เช่นอะเมริเซียมสำหรับใช้ในการตรวจจับควันและโคบอลต์ -60, โมลิบดีนัม-99 และอื่นๆ ที่ใช้สำหรับการถ่ายภาพและการรักษาพยาบาล
** การผลิตวัสดุสำหรับอาวุธนิวเคลียร์เช่นพลูโตเนียมเกรดอาวุธ
* เป็นแหล่งผลิตรังสีนิวตรอน (เช่นอุปกรณ์โกไดวาแบบพัลส์ ({{lang-en|pulsed Godiva device}})) และการฉายรังสีโพซิตรอน (กัมมันตภาพรังสีจำนวนมากถูกผลิตโดยปฏิกิริยานิวเคลียร์ทุติยภูมิ ในน้ำซึ่งไหลเวียนผ่านแกนกลางของเครื่องปฏิกรณ์พลังงาน ปฏิกิริยาที่สำคัญที่สุดคือปฏิกิริยาที่ก่อให้เกิดโพซิตรอนคือ 16O (p, α) 13N และ 10B (a, α) 13N ซึ่งเป็นปฏิกริยาดูดกลืนพลังงาน และ 18O (p, n) 18F ซึ่งเป็นปฏิกริยาคายพลังงาน การผลิตนิวไคลด์แบบโพสิตรอนนั้นมีความสำคัญเป็นพิเศษในกรณีของเครื่องปฏิกรณ์แบบน้ำเดือด ในเครื่องปฏิกรณ์ดังกล่าวน้ำไม่ควบแน่นและไอน้ำซึ่งมีการหมุนเวียนอย่างต่อเนื่องจากคอนเดนเซอร์ สามารถให้ปริมาณ N-13 ที่เพียงพอ ซึ่งจะสลายตัวปลดปล่อยโพซิตรอน)<ref>{{cite journal |title=Production and Release of Positron Emitters from Water-Moderated Power Reactors |url=https://www.tandfonline.com/doi/abs/10.13182/NT73-A31237 |journal=Nuclear Technology |volume=17 |issue=2 |date=1973 |author1=Mike Sohan Singh |author2=Lawrence Ruby |pages=104-109 |publisher=Taylor & Francis |doi=10.13182/NT73-A31237}}</ref> การนำไปใช้งานเช่น การวิเคราะห์นิวตรอนที่อยู่ในภาวะเร้า, และการวัดอายุโดยใช้วิธีอาร์กอน-อาร์กอน Ar-40 / Ar-39 (โดยการฉายรังสีนิวตรอนจากเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์เพื่อแปลงโปแตสเซียม (K-39) ที่เสถียรเป็น Ar-39 ที่มีกัมมันตภาพรังสี ตราบที่มีสารมาตรฐานที่ทราบอายุจากการฉายรังสีร่วมกันกับตัวอย่างวัตถุที่ไม่ทราบอายุ เป็นไปได้ที่จะใช้การวัดเพียงไอโซโทปของอาร์กอนเพื่อคำนวณอัตราส่วน K-40 / Ar-40* และคำนวณอายุของตัวอย่างวัตถุที่ต้องการ โดย Ar-40* เป็นไอโซโทปกัมมันตรังสี)<ref>{{cite web |url=http://geoinfo.nmt.edu/labs/argon/methods/home.html |title=New Mexico Geochronology Research Laboratory: K/Ar and <sup>40</sup>Ar/<sup>39</sup>Ar Methods |publisher=New Mexico Bureau of Geology and Mineral Resources}}</ref>
* เป็นแหล่งผลิตรังสีนิวตรอน (เช่นอุปกรณ์โกไดวาแบบพัลส์ ({{lang-en|pulsed Godiva device}})) และการฉายรังสีโพซิตรอน {{Clarify|date=March 2008|reason=Neither linked article mentions reactors used to generate positrons. Needs explanation.}} (เช่นการวิเคราะห์การสั่งให้ทำงานด้วยนิวตรอน, และโพแทสเซียมอาร์กอนย้อนเวลา {{Clarify|date=March 2008}}<!-- how are reactors used for dating? Linked article makes no mention of positron sources -->)
* เครื่องปฏิกรณ์วิจัย: เครื่องปฏิกรณ์ทั่วไปจะถูกใช้สำหรับการวิจัยและการฝึกอบรม, การทดสอบวัสดุ, หรือการผลิตสารไอโซโทปรังสีสำหรับการแพทย์และอุตสาหกรรม, เครื่องเหล่านี้มีขนาดเล็กกว่าเครื่องปฏิกรณ์พลังงานหรือพวกที่ใช้ขับเคลื่อนเรือ, และงานอื่นๆอื่น ๆ ที่อยู่ในมหาวิทยาลัย. เครื่องปฏิกรณ์ดังกล่าวมีประมาณ 280 เครื่องที่มีการดำเนินงานใน 56 ประเทศ. บางเครื่องทำงานกับเชื้อเพลิงยูเรเนียมสมรรถนะสูง, และมีความพยายามระหว่างประเทศที่จะทดแทนด้วยเครื่องที่ดำเนินการด้วยเชื้อเพลิงสมรรถนะต่ำ<ref>{{cite web | url=http://www.world-nuclear.org/info/inf61.htm | title=World Nuclear Association Information Brief -Research Reactors}}</ref>.
 
===เทคโนโลยีปัจจุบัน===
 
[[ไฟล์:Diablo canyon nuclear power plant.jpg|thumb|Diablo แคนยอน - เป็นเครื่องปฏิกรณ์แรงดันน้ำ (PWR)]]
 
;; Pressurized water reactors (PWR)
==== Pressurized water reactors (PWR) ====
:: เครื่องปฏิกรณ์เหล่านี้ใช้ถังความดันหนึ่งถังเพื่อใส่เชื้อเพลิงนิวเคลียร์, แท่งควบคุม, ตัวหน่วง, และตัวหล่อเย็น. การระบายความร้อนและการหน่วงจะใช้น้ำของเหลวแรงดันสูง. น้ำความร้อนสูงที่มีกัมมันตรังสีที่ถูกปล่อยออกจากถังความดันจะไหลเวียนผ่านเครื่องกำเนิดไอน้ำซึ่งจะส่งผ่านความร้อนไปให้วงน้ำที่สอง (ที่ไม่มีกัมมันตรังสี) เพื่อหมุนกังหัน. พวกมันเป็นส่วนใหญ่ของเครื่องปฏิกรณ์ในปัจจุบัน. นี่คือการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์นิวตรอนความร้อนแบบหนึ่ง, รุ่นใหม่ล่าสุดคือ VVER-1200 ซึ่งเป็น'เครื่องปฏิกรณ์แรงดันน้ำขั้นสูง'และ'เครื่องปฏิกรณ์แรงดันยุโรป'. 'เครื่องปฏิกรณ์นาวีสหรัฐอเมริกา'ก็เป็นประเภทนี้.
เครื่องปฏิกรณ์เหล่านี้ใช้ถังความดันหนึ่งถังเพื่อใส่เชื้อเพลิงนิวเคลียร์, แท่งควบคุม, ตัวหน่วง, และตัวหล่อเย็น. การระบายความร้อนและการหน่วงจะใช้น้ำของเหลวแรงดันสูง น้ำความร้อนสูงที่มีกัมมันตรังสีที่ถูกปล่อยออกจากถังความดัน จะไหลเวียนผ่านเครื่องกำเนิดไอน้ำซึ่งจะส่งผ่านความร้อนไปให้วงน้ำที่สอง (ที่ไม่มีกัมมันตรังสี) เพื่อหมุนกังหัน. พวกมันเป็นส่วนใหญ่ของเครื่องปฏิกรณ์ในปัจจุบัน นี่คือการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์นิวตรอนความร้อนแบบหนึ่ง, รุ่นใหม่ล่าสุดคือ VVER-1200 ซึ่งเป็น'เครื่องปฏิกรณ์แรงดันน้ำขั้นสูง'และ'เครื่องปฏิกรณ์แรงดันยุโรป' 'เครื่องปฏิกรณ์นาวีสหรัฐอเมริกา' ก็เป็นประเภทนี้
[[ไฟล์:Laguna Verde Nuclear Power Plant.jpg|thumb|โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ Laguna Verde ใช้เครื่องปฏิกรณ์น้ำเดือด (BWR)|link=Special:FilePath/Laguna_Verde_Nuclear_Power_Plant.jpg]]
[[ไฟล์:Laguna_Verde_Nuclear_Power_Station.jpg|thumb|โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ Laguna Verde ใช้เครื่องปฏิกรณ์น้ำเดือด (BWR)]]
;; Boiling water reactors (BWR)
 
:: BWR เป็นเหมือน PWR ที่ไม่มีเครื่องกำเนิดไอน้ำ. เครื่องปฏิกรณ์น้ำเดือดจะถูกหล่อเย็นและถูกหน่วงด้วยน้ำเหมือน PWR แต่ด้วยความดันที่ต่ำกว่าซึ่งจะยอมให้น้ำไปต้มภายในถังความดันเพื่อผลิตไอน้ำที่ขับกังหัน. แตกต่างจาก PWR, มันไม่มีวงน้ำแรกและวงน้ำที่สอง. ประสิทธิภาพเชิงความร้อนของเครื่องปฏิกรณ์เหล่านี้จะสามารถทำให้สูงกว่าและง่ายกว่าและแม้แต่ยังอาจมีเสถียรภาพมากกว่าและปลอดภัยกว่าอีกด้วย. นี่คือการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์นิวตรอนความร้อนแบบหนึ่ง, ที่ใหม่ล่าสุดเป็น'เครื่องปฏิกรณ์น้ำเดือดขั้นสูง'และ'เครื่องปฏิกรณ์น้ำเดือดง่ายและประหยัด'
==== Boiling water reactors (BWR) ====
BWR เป็นเหมือน PWR ที่ไม่มีเครื่องกำเนิดไอน้ำ เครื่องปฏิกรณ์น้ำเดือดจะถูกหล่อเย็นและถูกหน่วงด้วยน้ำเหมือน PWR แต่ด้วยความดันที่ต่ำกว่าซึ่งจะยอมให้น้ำไปต้มภายในถังความดันเพื่อผลิตไอน้ำที่ขับกังหัน แตกต่างจาก PWR, มันไม่มีวงน้ำแรกและวงน้ำที่สอง ประสิทธิภาพเชิงความร้อนของเครื่องปฏิกรณ์เหล่านี้จะสามารถทำให้สูงกว่าและง่ายกว่า และแม้แต่ยังอาจมีเสถียรภาพมากกว่าและปลอดภัยกว่าอีกด้วย นี่คือการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์นิวตรอนความร้อนแบบหนึ่ง, ที่ใหม่ล่าสุดเป็น 'เครื่องปฏิกรณ์น้ำเดือดขั้นสูง' และ 'เครื่องปฏิกรณ์น้ำเดือดง่ายและประหยัด'
[[ไฟล์:CANDU at Qinshan.jpg|thumb|โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ Qinshan ใช้ CANDU]]
 
;; Pressurised heavy water reactor (PHWR)
==== Pressurised heavy water reactor (PHWR) ====
:: การออกแบบแคนาดา (เรียกว่า CANDU) เป็นเครื่องปฏิกรณ์แรงดันน้ำที่ระบายความร้อนและหน่วงปฏิกิริยาด้วยน้ำหนัก ({{lang-en|heavy water}}). แทนที่จะใช้ถังความดันขนาดใหญ่ถังเดียวอย่างใน PWR, เชื้อเพลิงจะถูกเก็บอยู่ในท่อความดันหลายร้อยท่อ. เครื่องปฏิกรณ์เหล่านี้ใช้เชื้อเพลิงเป็นยูเรเนียมธรรมชาติและเป็นแบบเครื่องปฏิกรณ์นิวตรอนความร้อน. PHWRs สามารถเติมเชื้อเพลิงในขณะทำงานเต็มที่ซึ่งทำให้พวกมันมีประสิทธิภาพการใช้ยูเรเนียมสูงมาก (มันช่วยในการควบคุมฟลักซ์ในแกนที่แม่นยำ). PHWRs CANDU มีการสร้างขึ้นในแคนาดา, อาร์เจนตินา, จีน, อินเดีย, ปากีสถาน, โรมาเนียและเกาหลีใต้. อินเดียก็ยังทำงานกับ PHWRs จำนวนมากที่มักจะเรียกมันว่า 'อนุพันธ์ของ CANDU' ที่ถูกสร้างขึ้นหลังจากที่รัฐบาลของแคนาดาหยุดการติดต่อนิวเคลียร์กับอินเดียหลังจากโครงการทดสอบอาวุธนิวเคลียร์ 'ยิ้มพระพุทธ'ปี 1974.
การออกแบบแคนาดา (เรียกว่า CANDU) เป็นเครื่องปฏิกรณ์แรงดันน้ำที่ระบายความร้อนและหน่วงปฏิกิริยาด้วยน้ำหนัก ({{lang-en|heavy water}}). แทนที่จะใช้ถังความดันขนาดใหญ่ถังเดียวอย่างใน PWR, เชื้อเพลิงจะถูกเก็บอยู่ในท่อความดันหลายร้อยท่อ เครื่องปฏิกรณ์เหล่านี้ใช้เชื้อเพลิงเป็นยูเรเนียมธรรมชาติและเป็นแบบเครื่องปฏิกรณ์นิวตรอนความร้อน PHWRs สามารถเติมเชื้อเพลิงในขณะทำงานเต็มที่ซึ่งทำให้พวกมันมีประสิทธิภาพการใช้ยูเรเนียมสูงมาก (มันช่วยในการควบคุมฟลักซ์ในแกนที่แม่นยำ) PHWRs CANDU มีการสร้างขึ้นในแคนาดา, อาร์เจนตินา, จีน, อินเดีย, ปากีสถาน, โรมาเนียและเกาหลีใต้ อินเดียก็ยังทำงานกับ PHWRs จำนวนมากที่มักจะเรียกมันว่า 'อนุพันธ์ของ CANDU' ที่ถูกสร้างขึ้นหลังจากที่รัฐบาลของแคนาดาหยุดการติดต่อนิวเคลียร์กับอินเดีย หลังจากโครงการทดสอบอาวุธนิวเคลียร์ 'ยิ้มพระพุทธ'ปี 1974
:[[ไฟล์:Elektrownia Ignalina.jpg|thumb|โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ Ignalina เป็นประเภท RBMK (ปิดปี 2009)]]
[[ไฟล์:Elektrownia Ignalina.jpg|thumb|โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ Ignalina เป็นประเภท RBMK (ปิดปี 2009)]]
;; Reaktor Bolshoy Moschnosti Kanalniy (เครื่องปฏิกรณ์ช่องทางกำลังสูง) (RBMK)
 
:: ออกแบบโดยสหภาพโซเวียต, ถูกสร้างขึ้นเพื่อผลิตพลูโตเนียมเช่นเดียวกับเพื่อพลังงาน. RBMKs จะระบายความร้อนด้วยตัวหน่วงแกรไฟท์. ในบางลักษณะของRBMKs จะคล้ายกับ CANDU ในการที่พวกมันจะสามารถเติมเชื้อเพลิงใหม่ระหว่างการดำเนินการผลิตพลังงานและมีการติดตั้งท่อความดันแทนถังความดันแบบ PWR. อย่างไรก็ตาม, ไม่เหมือนกับ CANDU พวกมันมีความไม่เสถียรและมีขนาดใหญ่ ทำให้อาคารคลุมเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ของพวกมันมีราคาแพง ข้อบกพร่องด้านความปลอดภัยที่วิกฤตเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องในการออกแบบของ RBMK, แม้ว่าบางส่วนของข้อบกพร่องเหล่านี้ได้รับการแก้ไขหลังจาก[[ภัยพิบัติเชอร์โนบิล]]. จุดน่าสนใจหลักของพวกมันคือการใช้งานของน้ำเบาและยูเรเนียมที่ไม่ได้เสริมสมรรถนะ. ในปี 2010, 11 เครื่องยังคงเปิดใช้งาน, ส่วนใหญ่เนื่องจากการปรับปรุงความปลอดภัยและความช่วยเหลือจากหน่วยงานความปลอดภัยระหว่างประเทศเช่น DOE. แม้จะมีการปรับปรุงความปลอดภัยเหล่านี้, เครื่องปฏิกรณ์ RBMK ก็ยังถือว่าเป็นหนึ่งในการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์ที่อันตรายที่สุดในการใช้งาน. เครื่องปฏิกรณ์ RBMK ถูกนำไปใช้เฉพาะในอดีตสหภาพโซเวียต.
==== Reaktor Bolshoy Moschnosti Kanalniy (เครื่องปฏิกรณ์ช่องทางกำลังสูง) (RBMK) ====
ออกแบบโดยสหภาพโซเวียต, ถูกสร้างขึ้นเพื่อผลิตพลูโตเนียมเช่นเดียวกับเพื่อพลังงาน RBMKs จะระบายความร้อนด้วยตัวหน่วงแกรไฟท์ ในบางลักษณะของRBMKs จะคล้ายกับ CANDU ในการที่พวกมันจะสามารถเติมเชื้อเพลิงใหม่ระหว่างการดำเนินการผลิตพลังงาน และมีการติดตั้งท่อความดันแทนถังความดันแบบ PWR อย่างไรก็ตาม, ไม่เหมือนกับ CANDU พวกมันมีความไม่เสถียรและมีขนาดใหญ่ ทำให้อาคารคลุมเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ของพวกมันมีราคาแพง ข้อบกพร่องด้านความปลอดภัยที่วิกฤตเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องในการออกแบบของ RBMK, แม้ว่าบางส่วนของข้อบกพร่องเหล่านี้ได้รับการแก้ไขหลังจาก[[ภัยพิบัติเชอร์โนบิล]] จุดน่าสนใจหลักของพวกมันคือการใช้งานของน้ำเบาและยูเรเนียมที่ไม่ได้เสริมสมรรถนะ ในปี 2010, 11 เครื่องยังคงเปิดใช้งาน, ส่วนใหญ่เนื่องจากการปรับปรุงความปลอดภัยและความช่วยเหลือจากหน่วยงานความปลอดภัยระหว่างประเทศเช่น DOE แม้จะมีการปรับปรุงความปลอดภัยเหล่านี้, เครื่องปฏิกรณ์ RBMK ก็ยังถือว่าเป็นหนึ่งในการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์ที่อันตรายที่สุดในการใช้งาน เครื่องปฏิกรณ์ RBMK ถูกนำไปใช้เฉพาะในอดีตสหภาพโซเวียต
[[ไฟล์:Sizewell A.jpg|thumb|สถานีพลังงานนิวเคลียร์ Magnox Sizewell A]]
[[ไฟล์:Torness Nuclear Power Station, Scotland.JPG|thumb|สถานีพลังงานนิวเคลียร์ Torness ใช้เครื่องปฏิกรณ์ก๊าซระบายความร้อนสูง (AGR)]]
 
;; Gas-cooled reactor (GCR) and [[advanced gas-cooled reactor]] (AGR)
==== Gas-cooled reactor (GCR) and [[advanced gas-cooled reactor]] (AGR) ====
:: เครื่องปฏิกรณ์เหล่านี้ทั่วไปจะใช้ตัวหน่วงแบบแกรไฟท์และหล่อเย็นด้วย CO<sub>2</sub>. พวกมันสามารถมีประสิทธิภาพเชิงความร้อนที่สูงเมื่อเทียบกับ PWRs เนื่องจากพวกมันใช้อุณหภูมิในการดำเนินงานที่สูงกว่า. มีเครื่องปฏิกรณ์จำนวนมากที่มีการใช้งานอยู่, ส่วนใหญ่อยู่ในสหราชอาณาจักร, ในที่ซึ่งแนวคิดของการออกแบบได้รับการพัฒนาที่นั่น. การออกแบบที่มีอายุมากกว่า (เช่นสถานี Magnox) อาจจะปิดตัวลงในอนาคตอันใกล้. อย่างไรก็ตาม AGCRs คาดว่าจะมีอายุใช้งานได้ต่อไปอีก 10 ถึง 20 ปี. การออกแบบเป็นแบบเครื่องปฏิกรณ์นิวตรอนความร้อน. ค่าใช้จ่ายในการรื้อถอนอาจสูงมากเนื่องจากแกนของเครื่องปฏิกรณ์มีปริมาตรขนาดใหญ่.
เครื่องปฏิกรณ์เหล่านี้ทั่วไปจะใช้ตัวหน่วงแบบแกรไฟท์และหล่อเย็นด้วย CO<sub>2</sub> พวกมันสามารถมีประสิทธิภาพเชิงความร้อนที่สูงเมื่อเทียบกับ PWRs เนื่องจากพวกมันใช้อุณหภูมิในการดำเนินงานที่สูงกว่า มีเครื่องปฏิกรณ์จำนวนมากที่มีการใช้งานอยู่, ส่วนใหญ่อยู่ในสหราชอาณาจักร, ในที่ซึ่งแนวคิดของการออกแบบได้รับการพัฒนาที่นั่น การออกแบบที่มีอายุมากกว่า (เช่นสถานี Magnox) อาจจะปิดตัวลงในอนาคตอันใกล้ อย่างไรก็ตาม AGCRs คาดว่าจะมีอายุใช้งานได้ต่อไปอีก 10 ถึง 20 ปี การออกแบบเป็นแบบเครื่องปฏิกรณ์นิวตรอนความร้อน ค่าใช้จ่ายในการรื้อถอนอาจสูงมากเนื่องจากแกนของเครื่องปฏิกรณ์มีปริมาตรขนาดใหญ่
;; เครื่องปฏิกรณ์ Fast breeder โลหะของเหลว ({{lang-en|Liquid-metal Fast breeder Reactor (LMFBR)}})
 
:: นี้คือการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์ที่ระบายความร้อนด้วยโลหะของเหลว, ไม่มีการหน่วงโดยสิ้นเชิง, และผลิตเชื้อเพลิงได้มากกว่าที่มันบริโภคเข้าไป. เรียกได้ว่าพวกมัน "ให้กำเนิด ({{lang-en|breed}})" เชื้อเพลิงเพราะพวกมันผลิตเชื้อเพลิงที่สามารถทำฟิชชั่นได้ระหว่างการดำเนินการโดยการจับนิวตรอน. เครื่องปฏิกรณ์เหล่านี้สามารถทำงานได้เหมือน PWR ในแง่ของประสิทธิภาพและไม่จำเป็นต้องมีภาชนะบรรจุที่มีแรงดันสูงมากเนื่องจากโลหะของเหลวไม่จำเป็นต้องถูกเก็บไว้ที่ความดันสูงแม้แต่ที่อุณหภูมิสูงมาก. เครื่องปฏิกรณ์ BN-350 และ BN-600 ในสหภาพโซเวียตและ Superphénix ในประเทศฝรั่งเศสเป็นเครื่องปฏิกรณ์ประเภทนี้, เช่นเดียวกับ Fermi-I ในสหรัฐอเมริกา. เครื่องปฏิกรณ์ Monju ในประเทศญี่ปุ่นประสบปัญหาการรั่วไหลของโซเดียมในปี 1995 และได้รับการเริ่มเดินเครื่องใหม่ในเดือนพฤษภาคม 2010. พวกมันทั้งหมดใช้/เคยใช้โซเดียมเหลว. เครื่องปฏิกรณ์เหล่านี้เป็นแบบนิวตรอนเร็ว, ไม่ใช่แบบนิวตรอนร้อน. เครื่องปฏิกรณ์เหล่านี้มีสองประเภท ได้แก่:
==== เครื่องปฏิกรณ์ Fast breeder โลหะของเหลว ({{lang-en|Liquid-metal Fast breeder Reactor (LMFBR)}}) ====
นี้คือการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์ที่ระบายความร้อนด้วยโลหะของเหลว, ไม่มีการหน่วงโดยสิ้นเชิง, และผลิตเชื้อเพลิงได้มากกว่าที่มันบริโภคเข้าไป เรียกได้ว่าพวกมัน "ให้กำเนิด ({{lang-en|breed}})" เชื้อเพลิงเพราะพวกมันผลิตเชื้อเพลิงที่สามารถทำฟิชชั่นได้ระหว่างการดำเนินการโดยการจับนิวตรอน เครื่องปฏิกรณ์เหล่านี้สามารถทำงานได้เหมือน PWR ในแง่ของประสิทธิภาพและไม่จำเป็นต้องมีภาชนะบรรจุที่มีแรงดันสูงมาก เนื่องจากโลหะของเหลวไม่จำเป็นต้องถูกเก็บไว้ที่ความดันสูงแม้แต่ที่อุณหภูมิสูงมาก เครื่องปฏิกรณ์ BN-350 และ BN-600 ในสหภาพโซเวียตและ Superphénix ในประเทศฝรั่งเศสเป็นเครื่องปฏิกรณ์ประเภทนี้, เช่นเดียวกับ Fermi-I ในสหรัฐอเมริกา เครื่องปฏิกรณ์ Monju ในประเทศญี่ปุ่นประสบปัญหาการรั่วไหลของโซเดียมในปี 1995 และได้รับการเริ่มเดินเครื่องใหม่ในเดือนพฤษภาคม 2010 พวกมันทั้งหมดใช้ / เคยใช้โซเดียมเหลว เครื่องปฏิกรณ์เหล่านี้เป็นแบบนิวตรอนเร็ว, ไม่ใช่แบบนิวตรอนร้อน เครื่องปฏิกรณ์เหล่านี้มีสองประเภท ได้แก่:
[[ไฟล์:Superphénix.jpg|thumb|Superphénix ซึ่งเป็นหนึ่งในไม่กี่ตัวที่เป็น FBRs]]
::: หล่อเย็นด้วยตะกั่ว
:::: ตะกั่วเป็นโลหะเหลวที่ป้องกันรังสีได้ดีมากและช่วยให้สามารถดำเนินงานที่อุณหภูมิสูงมาก. นอกจากนี้ ตะกั่ว(ส่วนใหญ่)จะโปร่งใสกับนิวตรอน, ดังนั้น มีนิวตรอนน้อยมากที่จะหายไปในตัวหล่อเย็นและตัวหล่อเย็นก็ไม่เป็นกัมมันตรังสี. แตกต่างจากโซเดียม, ตะกั่วส่วนใหญ่จะเฉื่อย, จึงมีความเสี่ยงน้อยลงจากการระเบิดหรืออุบัติเหตุ, แต่ปริมาณมากขนาดนั้นอาจจะนำไปสู่​​ปัญหาจากพิษวิทยาและในมุมมองของการกำจัด. บ่อยครั้งที่เครื่องปฏิกรณ์ประเภทนี้จะใช้สารผสมตะกั่วบิสมัทยูเทคติก. ในกรณีนี้บิสมัทจะนำเสนอปัญหารังสีส่วนน้อยบางอย่าง, เนื่องจากมันค่อนข้างจะไม่โปร่งใสกับนิวตรอน, และสามารถแปรไปเป็นไอโซโทปกัมมันตรังสีมากขึ้นอย่างรวดเร็วกว่าตะกั่ว. เรือดำน้ำชั้นอัลฟ่าของรัสเซียใช้เครื่องปฏิกรณ์รวดเร็วหล่อเย็นด้วยตะกั่วบิสมัทเป็นโรงงานพลังงานหลักของมัน.
::: หล่อเย็นด้วยโซเดียม
:::: LMFBRs ส่วนใหญ่จะเป็นประเภทนี้. โซเดียมค่อนข้างหาได้ง่ายและทำงานด้วยและก็ยังป้องกันไม่ให้เกิดการกัดกร่อนจริงในส่วนเครื่องปฏิกรณ์ต่างๆที่แช่อยู่ในตัวมัน. อย่างไรก็ตาม โซเดียมระเบิดอย่างรุนแรงเมื่อสัมผัสกับน้ำ, ดังนั้นต้องระมัดระวัง, แต่การระเบิดดังกล่าวจะไม่มีความรุนแรงมากไปกว่า (ตัวอย่าง) การรั่วไหลของของเหลวที่ร้อนอย่างมากจากเครื่องปฏิกรณ์น้ำวิกฤตยิ่งยวด ({{lang-en|Supercritical water reactor (SCWR)}}) หรือ PWR EBR-I, เครื่องปฏิกรณ์ตัวแรกที่หลอมละลาย, จะเป็นประเภทนี้
 
===== หล่อเย็นด้วยตะกั่ว =====
;; เครื่องปฏิกรณ์แบบถังกรวด ({{lang-en|Pebble-bed reactor (PBR)}})
ตะกั่วเป็นโลหะเหลวที่ป้องกันรังสีได้ดีมากและช่วยให้สามารถดำเนินงานที่อุณหภูมิสูงมาก นอกจากนี้ ตะกั่ว (ส่วนใหญ่) จะโปร่งใสกับนิวตรอน, ดังนั้น มีนิวตรอนน้อยมากที่จะหายไปในตัวหล่อเย็นและตัวหล่อเย็นก็ไม่เป็นกัมมันตรังสี แตกต่างจากโซเดียม, ตะกั่วส่วนใหญ่จะเฉื่อย, จึงมีความเสี่ยงน้อยลงจากการระเบิดหรืออุบัติเหตุ, แต่ปริมาณมากขนาดนั้นอาจจะนำไปสู่​​ปัญหาจากพิษวิทยาและในมุมมองของการกำจัด บ่อยครั้งที่เครื่องปฏิกรณ์ประเภทนี้จะใช้สารผสมตะกั่วบิสมัทยูเทคติก ในกรณีนี้บิสมัทจะนำเสนอปัญหารังสีส่วนน้อยบางอย่าง, เนื่องจากมันค่อนข้างจะไม่โปร่งใสกับนิวตรอน, และสามารถแปรไปเป็นไอโซโทปกัมมันตรังสีมากขึ้นอย่างรวดเร็วกว่าตะกั่ว เรือดำน้ำชั้นอัลฟ่าของรัสเซียใช้เครื่องปฏิกรณ์รวดเร็วหล่อเย็นด้วยตะกั่วบิสมัท เป็นโรงงานพลังงานหลักของมัน
:: เครื่องปฏิกรณ์แบบนี้ใช้เชื้อเพลิงที่ขึ้นรูปเป็นลูกกลมเซรามิกและจากนั้นก็หมุนเวียนแก๊สผ่านลูก บอลเหล่านี้. ผลที่ได้คือเครื่องปฏิกรณ์ที่มีประสิทธิภาพ, การบำรุงรักษาต่ำ, ปลอดภัยมากขึ้นด้วยเชื้อเพลิงมาตรฐานราคาถูก. ต้นแบบเป็น AVR
 
;; เครื่องปฏิกรณ์เกลือหลอมละลาย
===== หล่อเย็นด้วยโซเดียม =====
:: เครื่องปฏิกรณ์แบบนี้จะละลายเชื้อเพลิงในเกลือฟลูออไร, หรือใช้เกลือฟลูออไรเป็นตัวหล่อเย็น. มีคุณสมบัติด้านความปลอดภัยจำนวนมาก, มีประสิทธิภาพสูงและความหนาแน่นพลังงานสูงเหมาะสำหรับยานพาหนะ. โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พวกมันไม่มีความกดดันสูงหรือส่วนประกอบที่ติดไฟได้ง่ายในแกน. ต้นแบบเป็น Molten-Salt Reactor Experiment (MSRE) ซึ่งยังใช้วัฏจักรเชื้อเพลิงของทอเรียมในการผลิต 0.1% ของกากกัมมันตรังสีของเครื่องปฏิกรณ์มาตรฐาน.
LMFBRs ส่วนใหญ่จะเป็นประเภทนี้ โซเดียมค่อนข้างหาได้ง่ายและทำงานด้วย และก็ยังป้องกันไม่ให้เกิดการกัดกร่อนจริงในส่วนเครื่องปฏิกรณ์ต่าง ๆ ที่แช่อยู่ในตัวมัน อย่างไรก็ตาม โซเดียมระเบิดอย่างรุนแรงเมื่อสัมผัสกับน้ำ, ดังนั้นต้องระมัดระวัง, แต่การระเบิดดังกล่าวจะไม่มีความรุนแรงมากไปกว่า (ตัวอย่าง) การรั่วไหลของของเหลวที่ร้อนอย่างมากจากเครื่องปฏิกรณ์น้ำวิกฤตยิ่งยวด ({{lang-en|Supercritical water reactor (SCWR)}}) หรือ PWR EBR-I, เครื่องปฏิกรณ์ตัวแรกที่หลอมละลาย, จะเป็นประเภทนี้
;; เครื่องปฏิกรณ์ของเหลวเนื้อเดียวกัน ({{lang-en|Aqueous Homogeneous Reactor (AHR)}})
 
:: เครื่องปฏิกรณ์เหล่านี้ใช้เกลือนิวเคลียร์ละลายน้ำได้ที่ละลายลงในน้ำและผสมกับตัวหล่อเย็นและตัวหน่วงนิวตรอน
==== เครื่องปฏิกรณ์แบบถังกรวด ({{lang-en|Pebble-bed reactor (PBR)}}) ====
เครื่องปฏิกรณ์แบบนี้ใช้เชื้อเพลิงที่ขึ้นรูปเป็นลูกกลมเซรามิกและจากนั้นก็หมุนเวียนแก๊สผ่านลูก บอลเหล่านี้ ผลที่ได้คือเครื่องปฏิกรณ์ที่มีประสิทธิภาพ, การบำรุงรักษาต่ำ, ปลอดภัยมากขึ้นด้วยเชื้อเพลิงมาตรฐานราคาถูก ต้นแบบเป็น AVR
 
==== เครื่องปฏิกรณ์เกลือหลอมละลาย ====
เครื่องปฏิกรณ์แบบนี้จะละลายเชื้อเพลิงในเกลือฟลูออไรด์, หรือใช้เกลือฟลูออไรด์เป็นตัวหล่อเย็น มีคุณสมบัติด้านความปลอดภัยจำนวนมาก, มีประสิทธิภาพสูงและความหนาแน่นพลังงานสูงเหมาะสำหรับยานพาหนะ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พวกมันไม่มีความกดดันสูงหรือส่วนประกอบที่ติดไฟได้ง่ายในแกน ต้นแบบเป็น Molten-Salt Reactor Experiment (MSRE) ซึ่งยังใช้วัฏจักรเชื้อเพลิงของทอเรียมในการผลิต 0.1% ของกากกัมมันตรังสีของเครื่องปฏิกรณ์มาตรฐาน
 
==== เครื่องปฏิกรณ์ของเหลวเนื้อเดียวกัน ({{lang-en|Aqueous Homogeneous Reactor (AHR)}}) ====
เครื่องปฏิกรณ์เหล่านี้ใช้เกลือนิวเคลียร์ละลายน้ำได้ ที่ละลายลงในน้ำและผสมกับตัวหล่อเย็นและตัวหน่วงนิวตรอน
 
===อนาคตและเทคโนโลยีที่กำลังพัฒนา===
====เครื่องปฏิกรณ์ขั้นสูง====
มากกว่าหนึ่งโหลของการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์ขั้นสูงยังอยู่ในขั้นตอนต่างๆต่าง ๆ ของการพัฒนา<ref name="UIC">{{cite web |title=Advanced Nuclear Power Reactors |publisher=[[:en:World Nuclear Association|World Nuclear Association]] |url= http://world-nuclear.org/info/inf08.html |accessdate=29 January 2010}}</ref>. บางตัวมีวิวัฒนาการจากการออกแบบ PWR, BWR และ PHWR ข้างต้น, บางตัวแหวกแนวออกไป. แบบเก่าได้แก่เครื่องปฏิกรณ์น้ำเดือดขั้นสูง ({{lang-en|advanced boiling water reactor (ABWR)}}), สองตัวในจำนวนนั้นขณะนี้กำลังดำเนินงานขณะที่ตัวอื่นๆอื่น ๆ อยู่ระหว่างการก่อสร้าง, และเครื่องปฏิกรณ์น้ำเดือดอย่างง่ายแบบประหยัด ({{lang-en|Economic Simplified Boiling Water Reactor (ESBWR)}}) ที่มีความปลอดภัยแบบพาสซีฟ ({{lang-en|passively safe}}) และหน่วย AP1000 ที่ถูกวางแผนไว้ (ดูโครงการพลังงานนิวเคลียร์ 2010)
* เครื่องปฏิกรณ์เร็วแบบองค์รวม ({{lang-en|Integral Fast Reactor (IFR)}}) ถูกสร้างขึ้น, ผ่านการทดสอบและประเมินผลในระหว่างปี 1980s และจากนั้นก็ปลดระวางภายใต้การบริหารงานของคลินตันในปี 1990s อันเนื่องมาจากนโยบายที่ไม่แพร่กระจายอาวุธนิวเคลียร์ของรัฐบาล. การรีไซเคิลเชื้อเพลิงใช้แล้ว({{lang-en|spent nuclear fuel (SNF)}})เป็นหลักในการออกแบบและเพราะฉะนั้นมันจึงผลิตเพียงเศษเสี้ยวของเสียของเครื่องปฏิกรณ์ปัจจุบัน<ref name="pbs">{{cite web |url= http://www.pbs.org/wgbh/pages/frontline/shows/reaction/interviews/till.html |title=Nuclear Reaction: Why Do Americans Fear Nuclear Power? |accessdate=9 November 2006 |publisher=Public Broadcasting Service (PBS) |author=Dr. Charles Till}}</ref>
* เครื่องปฏิกรณ์ถังกรวดเป็นเครื่องปฏิกรณ์อุณหภูมิสูงระบายความร้อนด้วยแก๊ส ({{lang-en|high-temperature gas-cooled reactor (HTGCR)}})} ได้รับการออกแบบเพื่อให้อุณหภูมิสูงไปลดการส่งออกของพลังงานโดยการขยาย Doppler ({{lang-en|Doppler broadening}})ของหน้าตัดนิวตรอนของเชื้อเพลิง. มันใช้เชื้อเพลิงเซรามิกเพื่อให้อุณหภูมิของการดำเนินงานที่ปลอดภัยเกินช่วงอุณหภูมิที่ใช้ลดพลังงาน. การออกแบบส่วนใหญ่จะหล่อเย็นด้วยก๊าซฮีเลียมเฉื่อย. ฮีเลียมไม่ขึ้นอยู่กับการระเบิดไอน้ำแต่ต่อต้านการดูดซึมนิวตรอนจึงนำไปสู่​​กัมมันตภาพรังสี, และไม่ละลายสารปนเปื้อนที่สามารถกลายเป็นกัมมันตรังสี. การออกแบบโดยทั่วไปมีหลายชั้น (มากถึง 7 ชั้น) ของภาชนะบรรจุพาสซีฟมากกว่าเครื่องปฏิกรณ์แบบน้ำเบา (ปกติมี 3 ชั้น). คุณลักษณะเฉพาะที่ไม่เหมือนใครที่อาจช่วยด้านความปลอดภัยคือ ลูกกลมเชื้อเพลิงที่สร้างรูปแบบจริงของกลไกของแกน, และจะถูกแทนที่ทีละลูกเมื่อพวกมันมีอายุมากขึ้น. การออกแบบของเชื้อเพลิงทำให้การนำกลับไปเข้ากระบวนการใหม่ของเชื้อเพลิงมีราคาแพง.
* เครื่องปฏิกรณ์อิสระขนาดเล็กปิดผนึกขนส่งได้ ({{lang-en|Small, sealed, transportable, autonomous reactor (SSTAR)}}) กำลังถูกวิจัยและพัฒนาขั้นต้นในสหรัฐอเมริกา, ตั้งใจจะให้เป็นเครื่องปฏิกรณ์ fast breeder ที่มีความปลอดภัยแบบพาสซีฟและสามารถถูกทำให้ปิดตัวลงจากระยะไกล ในกรณีที่ความสงสัยที่เกิดขึ้นว่ามันจะถูกดัดแปลงเพื่อทำลาย.
* เครื่องปฏิกรณ์ขั้นสูงที่สะอาดและปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม ({{lang-en|Clean And Environmentally Safe Advanced Reactor (CAESAR)}}) เป็นแนวคิดเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ใช้ไอน้ำเป็นตัวหน่วง - การออกแบบนี้ยังอยู่ในระหว่างการพัฒนา
* เครื่องปฏิกรณ์ลดการหน่วงของน้ำ ({{lang-en|Reduced moderation water reactor}}) สร้างบนเครื่องปฏิกรณ์น้ำเดือดขั้นสูง ({{lang-en|Advanced boiling water reactor (ABWR)}}) ที่ใช้งานอยู่ในปัจจุบัน, มันไม่ได้เป็นเครื่องปฏิกรณ์เร็วที่สมบูรณ์แต่ใช้นิวตรอน epithermal ส่วนใหญ่แทน, ซึ่งอยู่ระหว่างนิวตรอนร้อนและนิวตรอนเร็ว.
* โมดูลพลังงานนิวเคลียร์ใช้ไฮโดรเจนเป็นตัวหน่วงควบคุมตนเอง ({{lang-en|hydrogen-moderated self-regulating nuclear power module (HPM)}}) คือการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์เล็ดลอดออกมาจาก 'ห้องปฏิบัติการแห่งชาติลอสอาลามอส' ที่ใช้ยูเรเนียมไฮไดรด์เป็นเชื้อเพลิง
* เครื่องปฏิกรณ์ subcritical ถูกออกแบบมาให้มีความปลอดภัยและมีเสถียรภาพมากขึ้น, แต่ก่อให้เกิดปัญหาทางวิศวกรรมและทางเศรษฐกิจจำนวนมาก. ตัวอย่างหนึ่งตัวขยายพลังงาน
* เครื่องปฏิกรณ์แบบทอเรียม. มันเป็นไปได้ที่จะแปลงทอเรียม-232 ให้เป็น U-233 ในเครื่องปฏิกรณ์ที่ได้รับการออกแบบเป็นพิเศษเพื่อวัตถุประสงค์นั้น. ด้วยวิธีนี้ ทอเรียมซึ่งมีจำนวนมากมายกว่ายูเรเนียมสามารถใช้ในการ breed เชื้อเพลิงนิวเคลียร์ U-233. ยังมีความเชื่อกันว่า U-233 มีคุณสมบัตินิวเคลียร์ที่ดีเมื่อเทียบกับการใช้ U-235 แบบดั้งเดิม, รวมทั้งเศรษฐกิจของการประหยัดนิวตรอนที่ดีกว่าและการผลิตของเสีย transuranic อายุยืนที่ต่ำกว่า
** เครื่องปฏิกรณ์น้ำหนักขั้นสูง ({{lang-en|Advanced heavy-water reactor (AHWR)}}) - น้ำหนักจะถูกนำเสนอเพื่อเป็นตัวหน่วงของเครื่องปฏิกรณ์ไฟฟ้านิวเคลียร์ ที่จะถูกออกแบบเป็นรุ่นต่อไปของประเภท PHWR, ปัจจุบันอยู่ระหว่างการพัฒนาในศูนย์วิจัยปรมาณู Bhabha (BARC), ประเทศอินเดีย
** Kamini - เครื่องปฏิกรณ์ที่ไม่ซ้ำแบบใครใช้ไอโซโทปของยูเรเนียม-233 เป็นเชื้อเพลิง, ถูกสร้างขึ้นในประเทศอินเดียโดย BARC และ ศูนย์วิจัยปรมาณู Indira Gandhi (IGCAR)
** อินเดียก็กำลังวางแผนที่จะสร้างเครื่องปฏิกรณ์ fast breeder โดยใช้วัฏจักรเชื้อเพลิงทอเรียม-ยูเรเนียม-233. FBTR (Fast Breeder Test Reactor) ในการดำเนินงานที่ Kalpakkam (อินเดีย) ใช้พลูโตเนียมเป็นเชื้อเพลิงและใช้โซเดียมเหลวเป็นตัวหล่อเย็น
เส้น 254 ⟶ 251:
====เครื่องปฏิกรณ์รุ่นที่สี่====
 
เครื่องปฏิกรณ์ Generation IV เป็นชุดหนึ่งของการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ทางทฤษฎีที่กำลังมีการวิจัยในขณะนี้. การออกแบบเหล่านี้ทั่วไปมักจะไม่คาดว่าจะสามารถใช้ได้สำหรับการก่อสร้างเชิงพาณิชย์ก่อนปี 2030. เครื่องปฏิกรณ์ปัจจุบันที่อยู่ในการดำเนินงานทั่วโลกโดยทั่วไปมีการพิจารณาว่า เป็นระบบรุ่นที่สองหรือที่สามโดยที่ระบบรุ่นแรกได้รับการปลดระวางไปก่อนหน้านี้แล้ว. การวิจัยสำหรับประเภทของเครื่องปฏิกรณ์เหล่านี้ได้เริ่มต้นอย่างเป็นทางการโดย Generation IV International Forum (GIF) ตามพื้นฐานของเป้าหมายเทคโนโลยีแปดอย่าง. เป้าหมายเบื้องต้นก็คือเพื่อปรับปรุงความปลอดภัยของนิวเคลียร์, ปรับปรุงความต้านทานการแพร่ขยาย, ลดของเสียและเพิ่มการใช้ประโยชน์ในทรัพยากรธรรมชาติ, และเพื่อลดค่าใช้จ่ายในการสร้างและการดำเนินงานของโรงงานดังกล่าว<ref name="UIC1">{{cite web |title=Generation IV Nuclear Reactors |publisher=[[:en:World Nuclear Association|World Nuclear Association]] |url= http://world-nuclear.org/info/inf77.html |accessdate=29 January 2010}}</ref>.
* เครื่องปฏิกรณ์เร็วหล่อเย็นด้วยแก๊ส
* เครื่องปฏิกรณ์เร็วหล่อเย็นด้วยตะกั่ว
เส้น 263 ⟶ 260:
 
==== เครื่องปฏิกรณ์รุ่น 5+ ====
เครื่องปฏิกรณ์ Generation V มีการออกแบบที่มีความเป็นไปได้ในทางทฤษฎีและยังไม่ได้รับการพิจารณาหรือการวิจัยอย่างจริงจังในปัจจุบัน. แม้ว่าเครื่องปฏิกรณ์ดังกล่าวอาจจะสร้างขึ้นด้วยเทคโนโลยีในปัจจุบันหรือในระยะใกล้, พวกมันได้เรียกความสนใจได้เล็กน้อยด้วยหลายเหตุผลทางเศรษฐศาสตร์, การปฏิบัติจริง, หรือความปลอดภัย
* เครื่องปฏิกรณ์แกนของเหลวเป็นเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แกนเป็นของเหลววงปิด ที่วัตถุฟิชชั่นคือยูเรเนียมหลอมเหลวหรือสารละลายยูเรเนียมถูกหล่อเย็นด้วยแก๊สทำงาน ที่ถูกสูบเข้าไปผ่านหลุมหลายหลุมในฐานของถังบรรจุ
* เครื่องปฏิกรณ์แกนแก๊สเป็นรุ่นวงปิดของจรวดหลอดไฟนิวเคลียร์ ({{lang-en|nuclear lightbulb rocket}}) ที่วัตถุฟิชชั่นคือแก๊สยูเรเนียม hexafluoride ที่เก็บอยู่ในถังซิลิกาหลอมละลาย. แก๊สทำงาน (เช่นไฮโดรเจน) จะไหลไปรอบๆรอบ ๆ ถังนี้ และดูดซับแสงยูวีที่ผลิตโดยปฏิกิริยา. ในทางทฤษฎี การใช้ UF<sub>6</sub> เป็นเชื้อเพลิงทำงานโดยตรง (แทนที่จะเป็นขั้นตอนแบบที่ทำตอนนี้) จะหมายถึงค่าใช้จ่ายของกระบวนการลดลง, และเครื่องปฏิกรณ์มีขนาดเล็กมาก. ในทางปฏิบัติ การเดินเครื่องปฏิกรณ์ที่ความหนาแน่นพลังงานสูงแบบนี้อาจจะผลิตฟลักซ์นิวตรอนไม่สามารถจัดการได้, ทำให้วัสดุเครื่องปฏิกรณ์ส่วนใหญ่อ่อนแอลง, และดังนั้นเมื่อฟลักซ์จะคล้ายกับที่คาดว่าจะเกิดในเครื่องปฏิกรณ์ฟิวชั่น, มันจะต้องมีวัสดุที่คล้ายกับพวกที่ถูกเลือกโดย 'สิ่งอำนวยความสะดวกวัสดุการฉายรังสีฟิวชั่นนานาชาติ' ({{lang-en|International Fusion Materials Irradiation Facility (IFMIF)}})
** เครื่องปฏิกรณ์แกนแก๊ส EM. เหมือนกับในเครื่องปฏิกรณ์แกนแก๊ส แต่มีแผงโซลาร์เซลล์ที่แปลงแสงยูวีโดยตรงให้เป็นไฟฟ้า<ref>{{cite web |url=http://isjaee.hydrogen.ru/pdf/AEE04-07_Prelas.pdf |title=International Scientific Journal for Alternative Energy and Ecology, DIRECT CONVERSION OF NUCLEAR ENERGY TO ELECTRICITY, Mark A. Prelas}}</ref>.
* เครื่องปฏิกรณ์ฟิชชันบางส่วน
* ไฮบริดนิวเคลียร์ฟิวชั่น จะใช้นิวตรอนที่ปล่อยออกมาโดยฟิวชั่นเพื่อทำปฏิกิริยาฟิชชั่นกับ 'ผ้าห่ม' ของวัสดุที่อุดมสมบูรณ์เช่น U-238 หรือ Th-232 และเปลี่ยนผ่าเหล่าเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ใช้แล้ว / กากนิวเคลียร์ของปฏิกรณ์อื่นๆให้เป็นไอโซโทปที่ค่อนข้างอ่อนโยนมากกว่า
 
==== เครื่องปฏิกรณ์ฟิวชั่น ====
 
นิวเคลียร์ฟิวชันที่ถูกควบคุม ในหลักการสามารถที่จะนำมาใช้ในโรงไฟฟ้าฟิวชั่น ในการผลิตไฟฟ้าโดยไม่มีความซับซ้อนของการจัดการพวก actinides ทั้งหลาย, แต่อุปสรรคทางวิทยาศาสตร์และทางเทคนิคที่สำคัญยังคงอยู่. หลายเครื่องปฏิกรณ์ฟิวชั่นได้รับการสร้างขึ้น แต่ยังไม่มีสักเครื่องที่สามารถ 'ผลิต' พลังงานความร้อนได้มากกว่าพลังงานไฟฟ้าที่บริโภคเข้าไป. แม้จะมีการวิจัยที่มีการเริ่มต้นในปี 1950s, ไม่มีเครื่องปฏิกรณ์ฟิวชั่นเชิงพาณิชย์ที่คาดว่าจะทำสำเร็จก่อนปี 2050. โครงการ ITER ขณะนี้กำลังพยายามที่จะนำพลังงานฟิวชั่นไปใช้ทางการค้า
 
==วัฏจักรเชื้อเพลิงนิวเคลียร์==
เส้น 278 ⟶ 275:
บทความหลัก: วัฏจักรเชื้อเพลิงนิวเคลียร์
 
เครื่องปฏิกรณ์ร้อนโดยทั่วไปขึ้นอยู่กับยูเรเนียมที่ถูกกลั่นและเสริมสมรรถนะ. บางเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์สามารถทำงานด้วยส่วนผสมของพลูโตเนียมและยูเรเนียม (ดู [[:en:MOX|MOX]]). กระบวนการที่แร่ยูเรเนียมถูกขุดขึ้นมา, ผ่านกระบวนการผลิต, เสริมสมรรถนะ, ถูกนำไปใช้งาน, อาจจะถูกแปรสภาพและจำหน่ายทิ้งไป, เหล่านี้เป็นที่รู้จักกันว่าเป็นวัฏจักรเชื้อเพลิงนิวเคลียร์
 
น้อยกว่า 1% ของยูเรเนียมที่พบในธรรมชาติเป็นไอโซโทปของ U-235 ที่สามารถทำปฏิกิริยาฟิชชั่นได้อย่างง่ายดาย และด้วยเหตุนี้การออกแบบเครื่องปฏิกรณ์ส่วนใหญ่ต้องใช้เชื้อเพลิงที่มีสมรรถนะสูง. สมรรถนะที่สูงนี้เกี่ยวข้องกับการเพิ่มขึ้นของจำนวนเปอร์เซ็นต์ของ U-235 และมักจะถูกทำด้วยวิธีการของการแตกตัวของแก๊ส ({{lang-en|gaseous diffusion}}) หรือ การเหวี่ยงแก๊สเข้าสู่ศูนย์กลาง({{lang-en|gas centrifuge}}). ผลที่ไดได้จากการเสริมสมรรถนะจะถูกส่งต่อไปเปลี่ยนให้เป็นผงยูเรเนียมไดออกไซด์, ซึ่งจะถูกกดและยิงให้อยู่ในรูปแบบเม็ด. เม็ดเหล่านี้จะถูกวางซ้อนกันเป็นหลอดๆหลอด ๆ แล้วจะถูกปิดผนึกซึ่งจะเรียกมันว่าแท่งเชื้อเพลิง ({{lang-en|fuel rod}}). หลายแท่งเชื้อเพลิงเหล่านี้จะถูกใช้ในแต่ละเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์.
 
เครื่องปฏิกรณ์ BWR และ PWR เชิงพาณิชย์ส่วนใหญ่ใช้ยูเรเนียมที่เสริมสมรรถนะที่ประมาณ 4% ของ U-235, และเครื่องปฏิกรณ์เชิงพาณิชย์บางเครื่องที่มีนิวตรอนเศรษฐกิจ ({{lang-en|neutron economy}}) สูงไม่ต้องใช้เชื้อเพลิงที่เสริมสมรรถนะเลย (นั่นคือพวกมันสามารถใช้ยูเรเนียมธรรมชาติได้). จากข้อมูลสำนักงานพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ, มีอย่างน้อย 100 เครื่องปฏิกรณ์วิจัยในโลกใช้เชื้อเพลิงสมรรถนะสูง (weapons-grade / ยูเรเนียมเสริมสมรรถนะ 90%). ความเสี่ยงจากการขโมยน้ำมันเชื้อเพลิงนี้ (อาจใช้ในการผลิตอาวุธนิวเคลียร์) ได้นำไปสู่​​แคมเปญการสนับสนุนการแปลงของประเภทของเครื่องปฏิกรณ์นี้ให้เป็นยูเรเนียมสมรรถนะต่ำ (ซึ่งเป็นภัยคุกคามน้อยกว่าการแพร่ขยาย)<ref>{{cite web | work=IAEA | url=http://www.iaea.org/NewsCenter/News/2006/heu_symposium.html | title=Improving Security at World's Nuclear Research Reactors: Technical and Other Issues Focus of June Symposium in Norway | date=7 June 2006}}</ref>.
 
U-235 ที่ฟิชชั่นได้และไม่ฟิชชั่นแต่สามารถทำให้ฟิชชั่นได้และ U-238 ที่อุดมสมบูรณ์ทั้งหมดนี้ใช้ในกระบวนการฟิชชัน. U-235 สามารถทำให้ฟิชชั่นได้โดยนิวตรอนร้อน (หรือเคลื่อนไหวช้า). นิวตรอนร้อนเป็นตัวที่มีการเคลื่อนไหวประมาณความเร็วเดียวกับอะตอมที่อยู่รอบตัวมัน. เนื่องจากอะตอมทั้งหมดจะสั่นเป็นสัดส่วนกับอุณหภูมิสัมบูรณ์ของพวกมัน, นิวตรอนร้อนมีโอกาสที่ดีที่สุดที่จะฟิชชั่น U-235 เมื่อมันเคลื่อนที่ด้วยความเร็วเดียวกันกับการสั่นนี้. ในอีกด้านหนึ่ง U-238 มีแนวโน้มที่จะจับนิวตรอนเมื่อนิวตรอนที่มีการเคลื่อนไหวอย่างรวดเร็วมาก. อะตอมของ U-239 นี้จะสลายตัวในไม่ช้าเป็นพลูโตเนียม-239 ซึ่งเป็นเชื้อเพลิงอีกแบบหนึ่ง. Pu-239 เป็นเชื้อเพลิงทำงานได้และต้องมีหน้าที่รับผิดชอบ แม้ว่าเมื่อเชื้อเพลิงยูเรเนียมเสริมสมรรถนะสูงจะถูกนำมาใช้. การฟิชชั่นของพลูโตเนียมจะมีอิทธิพลเหนือการฟิชชั่นของ U-235 ในเครื่องปฏิกรณ์บางตัว, โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังจาก U-235 ที่ถูกจ่ายให้ตอนแรกถูกนำไปใช้แล้ว. พลูโตเนียมสามารถฟิชชั่นได้ทั้งแบบนิวตรอนเร็วและนิวตรอนร้อน ซึ่งทำให้มันเหมาะสำหรับทั้งเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์หรือระเบิดนิวเคลียร์.
 
การออกแบบเครื่องปฏิกรณ์ที่มีอยู่ส่วนใหญ่เป็นเครื่องปฏิกรณ์ความร้อนและมักจะใช้น้ำเป็นตัวหน่วงนิวตรอน (ตัวหน่วงหมายความว่ามันหน่วงความเร็วของนิวตรอนให้ช้าลงที่ความเร็วของความร้อน) และใช้น้ำเป็นตัวหล่อเย็น. แต่ในเครื่องปฏิกรณ์แบบ fast breeder จะใช้ตัวหล่อเย็นเป็นอย่างอื่นซึ่งจะไม่ได้หน่วงหรือทำให้นิวตรอนช้าลงมากนัก. นี่ทำให้นิวตรอนเร็วเหนือกว่า, ซึ่งสามารถถูกนำมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อเติมเต็มการจัดหาน้ำมันเชื้อเพลิงอย่างต่อเนื่อง. โดยเพียงแค่วางยูเรเนียมที่ไม่ได้เสริมสมรรถนะและราคาถูกลงไปในแกนเช่นนั้น, U-238 ที่ไม่สามารถฟิชชั้นได้ก็จะกลายเป็น Pu-239, เป็นการ"ออกลูก"({{lang-en|breeding}}) เชื้อเพลิง.
 
ในวัฏจักรเชื้อเพลิงทอเรียม ทอเรียม-232 ดูดซับนิวตรอนในเครื่องปฏิกรณ์ทั้งแบบเร็วหรือแบบความร้อน ทอเรียม-233 จะ[[การสลายให้อนุภาคบีตา|สูญสลายแบบบีตา]]ไปเป็นโพรโทแอกทิเนียม-233 แล้วก็เป็นยูเรเนียม-233 ซึ่งจะถูกนำมาใช้เป็นเชื้อเพลิง ดังนั้น เหมือนยูเรเนียม 238 ทอเรียม-232 จึงเป็นวัสดุที่อุดมสมบูรณ์ ({{lang-en|fertile material}}) ตัวหนึ่ง.
 
=== การจ่ายเชื้อเพลิงให้เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ ===
ปริมาณของพลังงานในอ่างเก็บเชื้อเพลิงนิวเคลียร์จะถูกแสดงบ่อยครั้งในแง่ของ "วันเต็มกำลัง" ({{lang-en|full-power days}}) ซึ่งเป็นจำนวนของระยะเวลา 24 ชั่วโมง (วัน) ที่เครื่องปฏิกรณ์ตัวหนึ่งได้ถูกกำหนดตารางเวลาไว้สำหรับการดำเนินงาน ที่จะสามารถส่งออกพลังงานได้เต็มกำลังในการสร้างพลังงานความร้อน จำนวนวันเต็มกำลังในรอบการดำเนินงานของเครื่องปฏิกรณ์ (ระหว่างเวลาเติมน้ำมันครั้งหนึ่งจนถึงเติมน้ำมันครั้งต่อไป) จะเกี่ยวข้องกับปริมาณของยูเรเนียม-235 (U-235) ที่ฟิชชั่นได้ที่เก็บอยู่ในแท่งเชื้อเพลิงที่จุดเริ่มต้นของวงจร เปอร์เซ็นต์ที่สูงขึ้นของ U-235 ในแกนที่จุดเริ่มต้นของวงจรจะยอมให้เครื่องปฏิกรณ์ทำงานได้นานวันเต็มกำลังมากขึ้น
 
ในตอนท้ายของรอบการดำเนินงาน, เชื้อเพลิงในบางส่วนของแท่งจะถูก "ใช้" และถูกระบายออกไปและถูกแทนที่ด้วยแท่งเชื้อเพลิงใหม่(สด), แม้ว่าในทางปฏิบัติมันเป็นสาร buildup ของพิษจากปฏิกิริยา ({{lang-en|reaction poison}}) ในเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ที่กำหนดอายุการใช้งานของเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ในเครื่องปฏิกรณ์ นานก่อนที่การฟิชชั่นที่เป็นไปได้ทั้งหมดจะเกิดขึ้นได้, ตัว buildup ของนิวตรอนอายุยาวที่ดูดซับผลพลอยได้จากฟิชชันจะขัดขวางปฏิกิริยาลูกโซ่ ส่วนย่อยของแกนเชื้อเพลิงเครื่องปฏิกรณ์ที่ถูกเปลี่ยนในระหว่างการเติมเชื้อเพลิง โดยปกติจะเป็นหนึ่งในสี่สำหรับเครื่องปฏิกรณ์น้ำเดือด และเป็นหนึ่งในสามสำหรับเครื่องปฏิกรณ์แรงดันน้ำ การจำหน่ายทิ้งและการจัดเก็บเชื้อเพลิงใช้แล้วนี้ เป็นหนึ่งในด้านที่ท้าทายที่สุดของการดำเนินงานของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เชิงพาณิชย์ กากนิวเคลียร์นี้เป็นกัมมันตรังสีที่สูงและความเป็นพิษของมันจะเป็นอันตรายนับพัน ๆ ปี<ref name="nuclear_energy"/>.
ปริมาณของพลังงานในอ่างเก็บเชื้อเพลิงนิวเคลียร์จะถูกแสดงบ่อยครั้งในแง่ของ "วันเต็มกำลัง" ({{lang-en|full-power days}}) ซึ่งเป็นจำนวนของระยะเวลา 24 ชั่วโมง (วัน) ที่เครื่องปฏิกรณ์ตัวหนึ่งได้ถูกกำหนดตารางเวลาไว้สำหรับการดำเนินงานที่จะสามารถส่งออกพลังงานได้เต็มกำลังในการสร้างพลังงานความร้อน. จำนวนวันเต็มกำลังในรอบการดำเนินงานของเครื่องปฏิกรณ์ (ระหว่างเวลาเติมน้ำมันครั้งหนึ่งจนถึงเติมน้ำมันครั้งต่อไป) จะเกี่ยวข้องกับปริมาณของยูเรเนียม-235 (U-235) ที่ฟิชชั่นได้ที่เก็บอยู่ในแท่งเชื้อเพลิงที่จุดเริ่มต้นของวงจร. เปอร์เซ็นต์ที่สูงขึ้นของ U-235 ในแกนที่จุดเริ่มต้นของวงจรจะยอมให้เครื่องปฏิกรณ์ทำงานได้นานวันเต็มกำลังมากขึ้น.
 
ไม่ใช่ทุกเครื่องปฏิกรณ์จะต้องปิดตัวลงเพื่อเติมเชื้อเพลิง ตัวอย่างเช่น เครื่องปฏิกรณ์ถังกรวด, เครื่องปฏิกรณ์ RBMK, เครื่องปฏิกรณ์เกลือหลอมละลาย, Magnox, AGR และ CANDU ยอมให้เชื้อเพลิงได้รับการเลื่อนผ่านเครื่องปฏิกรณ์ในขณะที่มันกำลังทำงานอยู่ ในเครื่องปฏิกรณ์ CANDU กระบวนการนี้ยังยอมให้องค์ประกอบของน้ำมันเชื้อเพลิงแต่ละส่วนที่จะติดตั้งอยู่ในแกนเครื่องปฏิกรณ์ที่เหมาะที่สุดกับปริมาณของ U-235 ในองค์ประกอบของเชื้อเพลิง
ในตอนท้ายของรอบการดำเนินงาน, เชื้อเพลิงในบางส่วนของแท่งจะถูก"ใช้" และถูกระบายออกไปและถูกแทนที่ด้วยแท่งเชื้อเพลิงใหม่(สด), แม้ว่าในทางปฏิบัติมันเป็นสาร buildup ของพิษจากปฏิกิริยา({{lang-en|reaction poison}})ในเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ที่กำหนดอายุการใช้งานของเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ในเครื่องปฏิกรณ์. นานก่อนที่การฟิชชั่นที่เป็นไปได้ทั้งหมดจะเกิดขึ้นได้, ตัว buildup ของนิวตรอนอายุยาวที่ดูดซับผลพลอยได้จากฟิชชันจะขัดขวางปฏิกิริยาลูกโซ่. ส่วนย่อยของแกนเชื้อเพลิงเครื่องปฏิกรณ์ที่ถูกเปลี่ยนในระหว่างการเติมเชื้อเพลิงโดยปกติจะเป็นหนึ่งในสี่สำหรับเครื่องปฏิกรณ์น้ำเดือดและเป็นหนึ่งในสามสำหรับเครื่องปฏิกรณ์แรงดันน้ำ. การจำหน่ายทิ้งและการจัดเก็บเชื้อเพลิงใช้แล้วนี้เป็นหนึ่งในด้านที่ท้าทายที่สุดของการดำเนินงานของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เชิงพาณิชย์. กากนิวเคลียร์นี้เป็นกัมมันตรังสีที่สูงและความเป็นพิษของมันจะเป็นอันตรายนับพันๆปี<ref name="nuclear_energy"/>.
 
ปริมาณของพลังงานที่สกัดจากเชื้อเพลิงนิวเคลียร์จะเรียกว่า burnup ซึ่งจะแสดงในแง่ของพลังงานความร้อนที่ผลิตต่อหน่วยน้ำหนักเริ่มต้นของน้ำหนักเชื้อเพลิง Burnup ทั่วไปจะถูกแสดงเป็นความร้อนเมกะวัตต์วันต่อเมตริกตันของโลหะหนักเริ่มต้น
ไม่ใช่ทุกเครื่องปฏิกรณ์จะต้องปิดตัวลงเพื่อเติมเชื้อเพลิง; ตัวอย่างเช่นเครื่องปฏิกรณ์ถังกรวด, เครื่องปฏิกรณ์ RBMK, เครื่องปฏิกรณ์เกลือหลอมละลาย, Magnox, AGR และ CANDU ยอมให้เชื้อเพลิงได้รับการเลื่อนผ่านเครื่องปฏิกรณ์ในขณะที่มันกำลังทำงานอยู่. ในเครื่องปฏิกรณ์ CANDU กระบวนการนี้ยังยอมให้องค์ประกอบของน้ำมันเชื้อเพลิงแต่ละส่วนที่จะติดตั้งอยู่ในแกนเครื่องปฏิกรณ์ที่เหมาะที่สุดกับปริมาณของ U-235 ในองค์ประกอบของเชื้อเพลิง
 
ปริมาณของพลังงานที่สกัดจากเชื้อเพลิงนิวเคลียร์จะเรียกว่า burnup ซึ่งจะแสดงในแง่ของพลังงานความร้อนที่ผลิตต่อหน่วยน้ำหนักเริ่มต้นของน้ำหนักเชื้อเพลิง. Burnup ทั่วไปจะถูกแสดงเป็นความร้อนเมกะวัตต์วันต่อเมตริกตันของโลหะหนักเริ่มต้น.
 
==ความปลอดภัย==
{{บทความหลัก| ความปลอดภัยนิวเคลียร์}}
 
ความปลอดภัยนิวเคลียร์ครอบคลุมการดำเนินการเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดอุบัติเหตุนิวเคลียร์และรังสี หรือเพื่อจำกัดผลกระทบของพวกมัน. อุตสาหกรรมพลังงานนิวเคลียร์ได้มีการปรับปรุงความปลอดภัยและประสิทธิภาพการทำงานของเครื่องปฏิกรณ์, และได้นำเสนอการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์ใหม่ที่ปลอดภัย (แต่โดยทั่วไปยังไม่ทดลอง) แต่ไม่มีการรับประกันว่าเครื่องปฏิกรณ์จะได้รับการออกแบบ, สร้างและดำเนินการอย่างถูกต้องหรือไม่<ref name=globen/>. ข้อผิดพลาดก็เกิดขึ้นจริง และนักออกแบบเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ฟูกูชิม่าในประเทศญี่ปุ่นไม่ได้คาดว่า คลื่นสึนามิที่เกิดจากแผ่นดินไหวจะปิดการใช้งานระบบสำรอง ที่ควรจะรักษาเสถียรภาพให้กับเครื่องปฏิกรณ์หลังเกิดแผ่นดินไหว<ref>{{cite web |url=http://www.thebulletin.org/web-edition/columnists/hugh-gusterson/the-lessons-of-fukushima |title=The lessons of Fukushima |author=Hugh Gusterson |date=16 March 2011 |work=Bulletin of the Atomic Scientists }}</ref>. ตามที่ UBSAG, การเกิดอุบัติเหตุนิวเคลียร์ของเครื่องฟูกูชิม่า I ได้สร้างความสงสัยว่า แม้แต่ประเทศเศรษฐกิจก้าวหน้าอย่างญี่ปุ่นจะสามารถควบคุมความปลอดภัยนิวเคลียร์ได้หรือไม่<ref>{{cite web |url=http://www.businessweek.com/news/2011-04-04/fukushima-crisis-worse-for-atomic-power-than-chernobyl-ubs-says.html |title=Fukushima Crisis Worse for Atomic Power Than Chernobyl, UBS Says |author=James Paton |date=4 April 2011 |work=Bloomberg Businessweek }}</ref>. สถานการณ์ภัยพิบัติที่เกี่ยวข้องกับการโจมตีของผู้ก่อการร้ายนี้ก็ยังเป็นไปได้<ref name=globen>{{cite web |url=http://www.stanford.edu/group/efmh/jacobson/Articles/I/WWSEnergyPolicyPtI.pdf |title=Providing all Global Energy with Wind, Water, and Solar Power, Part I: Technologies, Energy Resources, Quantities and Areas of Infrastructure, and Materials |author1=Jacobson, Mark Z. and |author2=Delucchi, Mark A. |year=2010 |work=Energy Policy |page=6 }}</ref>. ทีมสหวิทยาการจากเอ็มไอทีได้คาดการณ์ว่าถ้าการเจริญเติบโตของพลังงานนิวเคลียร์ในช่วงปี 2005-2055 เป็นไปตามแผน, การเกิดอุบัติเหตุนิวเคลียร์ร้ายแรงคาดว่าจะเกิดขึ้นอย่างน้อย 4 ครั้งในช่วงเวลานั้น<ref>{{cite web |url=http://web.mit.edu/nuclearpower/pdf/nuclearpower-full.pdf |title=The Future of Nuclear Power |author=Massachusetts Institute of Technology |year=2003 |work= |page=48 }}</ref>.
 
==อุบัติเหตุ==
เส้น 310 ⟶ 306:
[[ไฟล์:Fukushima I by Digital Globe.jpg|thumb|เครื่องปฏิกรณ์สามเครื่องที่ฟูกูชิม่า I ร้อนมากเกินไป, ก่อให้เกิดการหลอมละลายที่ในที่สุดก็นำไปสู่การระเบิดที่ปล่อยวัสดุกัมมันตรังสีออกมาในอากาศจำนวนมาก<ref>{{cite web |url=http://www.nytimes.com/2011/06/02/world/asia/02japan.html?_r=1&ref=world |title=Report Finds Japan Underestimated Tsunami Danger |author=Martin Fackler |date=1 June 2011 |work=New York Times }}</ref>]]
อุบัติเหตุนิวเคลียร์และรังสีที่บางครั้งร้ายแรงได้เกิดขึ้น. อุบัติเหตุโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ที่เรียงตามยอดผู้เสียชีวิตรวมถึง[[ภัยพิบัติเชอร์โนบิล]] (1986), ภัยพิบัตินิวเคลียร์ Fukushima Daiichi (2011), อุบัติเหตุเกาะทรีไมล์ (1979) และอุบัติเหตุ SL-1 (1961)<ref name=timenuke/>. อุบัติเหตุเรือดำน้ำขับเคลื่อนด้วยนิวเคลียร์รวมถึงอุบัติเหตุเครื่องปฏิกรณ์ K-19 (1961)<ref name=rad>[http://www.iaea.org/Publications/Magazines/Bulletin/Bull413/article1.pdf Strengthening the Safety of Radiation Sources] p. 14.</ref>, อุบัติเหตุเครื่องปฏิกรณ์ K-27 (1968)<ref name=johnston2007>{{cite web |url=http://www.johnstonsarchive.net/nuclear/radevents/radevents1.html |title=Deadliest radiation accidents and other events causing radiation casualties |author=Johnston, Robert |date=23 September 2007 |publisher=Database of Radiological Incidents and Related Events }}</ref>, และการเกิดอุบัติเหตุเครื่องปฏิกรณ์ K-431 (1985)<ref name=timenuke>[http://www.time.com/time/photogallery/0,29307,1887705,00.html The Worst Nuclear Disasters]</ref>.
 
เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ถุกยิงเข้าสู่วงโคจรของโลกไม่น้อยกว่า 34 ครั้ง. เกิดอุบัติเหตุหลายครั้งเกี่ยวข้องกับเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ไร้คนขับ RORSAT ในโครงการดาวเทียมเรดาร์ของโซเวียต ที่ส่งผลให้เชื้อเพลิงนิวเคลียร์ใช้แล้วกลับเข้ามาในชั้นบรรยากาศของโลกจากวงโคจร. <ref>{{Citationcite news|title=Soviet-era satellites leaked lethal debris |url=http://www.nbcnews.com/id/4626592/ns/technology_and_science-space/t/soviet-era-satellites-leaked-lethal-debris/#.Xh4GCYhS_iw |author=Leonard David needed|date=December2004-03-29 2011|publisher=NBCNEWS.com |accessdate=2020-01-14}}</ref>
 
== เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ธรรมชาติ ==
{{บทความหลัก| เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ฟิชชั่นธรรมชาติ}}
 
แม้ว่าเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ฟิชชั่นมักจะถุกคิดว่าฟิชชั่นมักจะถุกคิดว่า เป็นผลิตภัณฑ์ของเทคโนโลยีที่ทันสมัยแต่เพียงอย่างเดียว, เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ฟิชชั่นเครื่องแรกในความเป็นจริงมันเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ. เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ฟิชชั่นธรรมชาติสามารถเกิดขึ้นได้ในบางกรณีที่เลียนแบบเงื่อนไขในเครื่องปฏิกรณ์ที่มนุษย์สร้าง<ref>[http://video.google.com/videoplay?docid=-2334857802602777622 Video of physics lecture] – at Google Video; a natural nuclear reactor is mentioned at 42:40 mins into the video</ref>. สิบห้าเครื่องปฏิกรณ์ธรรมชาติถูกค้นพบนับจนถึงวันนี้ในสามแหล่งสะสมแร่ที่อยู่ห่างกันที่เหมือง Oklo ในกาบอง, แอฟริกาตะวันตก. ค้นพบครั้งแรกในปี 1972 โดยนักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส ฟรานซิส เพอร์ริน, พวกมันจะถูกเรียกรวมกันว่าเครื่องปฏิกรณ์ธรรมชาติฟอสซิล Oklo. ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชั่นยั่งยืนด้วยตนเองได้เกิดขึ้นในเครื่องปฏิกรณ์เหล่านี้ประมาณ 1.5 พันล้านปีที่ผ่านมา, และทำงานไปได้ไม่กี่แสนปี, เฉลี่ย 100 กิโลวัตต์ของกำลังไฟฟ้าในช่วงเวลานั้น<ref>Meshik, Alex P. "The Workings of an Ancient Nuclear Reactor." ''Scientific American.'' November 2005. Pg. 82.</ref>. แนวคิดของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ธรรมชาติถูกสร้างเป็นทฤษฎีในช่วงต้นของปี 1956 โดยพอล คูโรดะที่มหาวิทยาลัยอาร์คันซอ<ref name="OCRWM">{{cite web |title=Oklo: Natural Nuclear Reactors |work=Office of Civilian Radioactive Waste Management |url= http://www.ocrwm.doe.gov/factsheets/doeymp0010.shtml |accessdate=28 June 2006}} {{ลิงก์เสีย|datearchiveurl=เมษายนhttps://web.archive.org/web/20060316101947/http://www.ocrwm.doe.gov/factsheets/doeymp0010.shtml 2555|botarchivedate=H3llBot16 March 2006 }}</ref><ref name="ANS1">{{cite web |title=Oklo's Natural Fission Reactors |work=[[:en:American Nuclear Society|American Nuclear Society]] |url= http://www.ans.org/pi/np/oklo |accessdate=28 June 2006}}</ref>.
 
เครื่องปฏิกรณ์ดังกล่าวไม่สามารถสร้างได้บนโลกอีกต่อไปแล้ว: การสลายตัวของกัมมันตรังสีในช่วงเวลาอันยิ่งใหญ่นี้ได้ลดสัดส่วนของ U-235 ในยูเรเนียมธรรมชาติให้อยู่ต่ำกว่าปริมาณที่จำเป็นในการรักษาปฏิกิริยาลูกโซ่ให้ยั่งยืน.
 
เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ธรรมชาติเกิดขึ้นเมื่อแหล่งสะสมแร่ที่อุดมด้วยยูเรเนียมถูกน้ำท่วม เนื่องจากน้ำบาดาลที่ทำหน้าที่เป็นตัวหน่วงนิวตรอน, และปฏิกิริยาลูกโซ่ที่แข็งแกร่งเกิดขึ้น. น้ำที่เป็นตัวหน่วงจะเดือดเมื่อปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น, ทำให้เกิดการชะลอตัวหดตัวกลับลงอีกครั้งและป้องกันการหลอมสลาย. ปฏิกิริยาฟิชชันได้รับการรักษาให้ยั่งยืนมาหลายแสนปี.
 
เครื่องปฏิกรณ์ธรรมชาติเหล่านี้มีการศึกษาอย่างกว้างขวาง โดยนักวิทยาศาสตร์ที่สนใจในการกำจัดกากกัมมันตรังสี. พวกเขานำเสนอกรณีศึกษาของการที่ไอโซโทปกัมมันตรังสีสามารถอพยพผ่านเปลือกโลกได้อย่างไร. เรื่องนี้เป็นพื้นที่ที่มีนัยสำคัญของความขัดแย้ง ในขณะที่ฝ่ายตรงข้ามของการกำจัดของเสียทางธรณีวิทยากลัวว่า ไอโซโทปจากขยะที่เก็บไว้จะสิ้นสุดในแหล่งน้ำหรือกระจายออกไปในสภาพแวดล้อม
 
== ดูเพิ่ม ==
เส้น 341 ⟶ 337:
* [[:en:World Nuclear Industry Status Report]]
* [[เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบถังกรวด]]
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* http://www.rmutphysics.com/PHYSICS/oldfront/102/1/nuclear1/nuclear_20.htm
* http://www.rmutphysics.com/charud/specialnews/6/nuclear-reactor/index.htm
 
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Nuclear_reactors|เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์}}
* [http://www.iaea.org/pris/ The Database on Nuclear Power Reactors] – IAEA
* [https://web.archive.org/web/20110427113431/http://www.nmt.edu/nmt-news/336-2011/4101-uranium-conference-adds-session-reviewing-implications-of-japan-accident Uranium Conference adds discussion of Japan accident]
* [http://www.rmutphysics.com/PHYSICS/oldfront/102/1/nuclear1/nuclear_20.htm เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์]
* [http://www.rmutphysics.com/charud/specialnews/6/nuclear-reactor/index.htm เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 4 ยุค]
 
 
{{Authority control|GND=4030344-5|LCCN=sh/85/93071|NARA=10642490|NDL=00562387}}
 
[[หมวดหมู่:พลังงานนิวเคลียร์]]
[[หมวดหมู่:เทคโนโลยีนิวเคลียร์]]
[[หมวดหมู่:ฟิสิกส์นิวเคลียร์]]
{{โครงฟิสิกส์}}