ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คอปติกออร์ทอดอกซ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Yusni5127 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
'''คริสตจักรคอปติกออร์ทอดอกซ์แห่งอะเล็กซานเดรีย''' ([[ภาษาคอปติก|คอปติก]]: <font size = 4><span lang="cop-Copt" xml:lang="cop-Copt" style="font-size:100%;font-family:'Arial Coptic', 'New Athena Unicode', 'MPH 2B Damase', 'Quivira', 'Analecta';">Ϯⲉⲕ̀ⲕⲗⲏⲥⲓⲁ ̀ⲛⲣⲉⲙ̀ⲛⲭⲏⲙⲓ ̀ⲛⲟⲣⲑⲟⲇⲟⲝⲟⲥ</span></font> ''ti.eklyseya en.remenkimi en.orthodoxos ente alexandhrias''; {{lang-en|Coptic Orthodox Church of Alexandria}}) เป็น[[คริสตจักร]]ที่ใหญ่ที่สุดใน[[ประเทศอียิปต์]]และภูมิภาค[[ตะวันออกกลาง]] เป็นส่วนหนึ่งของนิกาย[[ออเรียนทัลออร์ทอดอกซ์]]ซึ่งแยกออกมาจากนิกาย[[อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์]]หลังการ[[สังคายนาแห่งแคลซีดัน]]ในปี ค.ศ. 451 เพราะความขัดแย้งกันเรื่อง[[คริสตวิทยา]] ประเด็นที่ทำให้เกิด[[ศาสนเภท]]นี้ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ว่ามาจากประเด็นใดแน่ แต่โดยทั่วไปเกี่ยวกับเรื่องธรรมชาติของ[[พระคริสต์]] แม้คริสตจักรนี้จะมีศูนย์กลางอยู่ที่ประเทศอียิปต์ แต่ก็มีศาสนิกชนอยู่ทั่วโลก เชื่อกันว่านักบุญ[[มาระโกผู้นิพนธ์พระวรสาร]]และ[[อัครทูต]]เป็นผู้ก่อตั้งคริสตจักรนี้ราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 1 (ประมาณ ค.ศ. 45)<ref>[[Eusebius of Caesarea]], the author of ''[[Church History (Eusebius)|Ecclesiastical History]]'' in the 4th century, states that Saint Mark came to Egypt in the first or third year of the reign of Emperor Claudius, i.e. 41 or 43 A.D. "Two Thousand years of Coptic Christianity" Otto F. A. Meinardus p28.</ref> ประมุของค์ปัจจุบันของคริสตจักรมีสมณศักดิ์เป็น "[[พระสันตะปาปาในนิกายคอปติก|พระสันตะปาปาแห่งอะเล็กซานเดรียและอัครบิดรแห่งแอฟริกาทั้งปวง ณ สันตะสำนักแห่งนักบุญมาระโก]]"
 
ในปี ค.ศ. 2012 มีชาวอียิปต์ถึงร้อยละ 10 นับถือนิกายนี้ และนิกายนี้ยังเป้นเป็นนิกายเดียวที่ยังคงใช้[[ภาษาอียิปต์]]เป็นภาษาทางศาสนา<ref>[http://www.state.gov/r/pa/ei/bgn/5309.htm U.S.Dept of State/Egypt]</ref>
 
=== ในประเทศไทย ===
{{บทความหลัก|คริสตจักรคอปติกออร์ทอดอกซ์แห่งอเล็กซานเดรียในประเทศไทย}}
สำหรับในประเทศไทย ทางคริสตจักรคอปติกออร์ทอดอกซ์แห่งอเล็กซานเดรียได้เข้ามาเผยแผ่ศาสนาในไทยตั้งแต่ ค.ศ. 2004 ภายใต้การกำกับของบิชอปแดเนียลแห่งมุขมณฑลซิดนี่ย์และพื้นที่ในสังกัด (Diocese of Sydney & Affiliated Regions) ประเทศออสเตรเลีย มีโบสถ์ 2 แห่ง ได้แก่
# โบสถ์นักบุญมาระโกและนักบุญจอร์จ (บางกะปิ,กรุงเทพฯ)
# โบสถ์นักบุญยากอบอัครสาวก (สังขละบุรี,กาญจนบุรี) ซึ่งได้เปิดเป็นสถานรับเลี้ยงเด็กกำพร้าอีกด้วย<ref>http://bishopdanielsupporters.blogspot.com/2009/09/achievements-of-hg-bishop-daniel.html</ref><ref>บทสัมภาษณ์"พบศาสนจักรคอปติกออร์โธด็อกซ์ไทย ตอนที่ 2" ของเพจประวัติศาสตร์คริสต์ศาสนา - ทั้งตะวันตกและตะวันออก(Facebook Page)
 
https://www.facebook.com/pg/HistoryofChristianitybothWestandEast/photos/?tab=album&album_id=1717370641867877
</ref>
 
== อ้างอิง ==