ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระเพทราชา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขที่ 8668149 สร้างโดย 124.120.181.5 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 3:
| สีอักษร = #8f5f12
| image =
| name = สมเด็จพระมหาบุรุษวิสุทธิเดชอุดม
| birth_date = พ.ศ. 2175
|birth_place = บ้านพลูหลวง [[จังหวัดสุพรรณบุรี|แขวงเมืองสุพรรณบุรี]] [[อาณาจักรอยุธยา]]
บรรทัด 24:
}}
'''สมเด็จพระมหาบุรุษ''' หรือ '''สมเด็จพระเพทราชา''' เป็น[[พระมหากษัตริย์ไทย]]รัชกาลที่ 28 ของ[[อาณาจักรอยุธยา]] และเป็นปฐมกษัตริย์ของ[[ราชวงศ์บ้านพลูหลวง]] ทรงครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 2231-2246
' ' ' พระราชอิสริยยศ
 
==พระราชประวัติ==
สมเด็จพระเพทราชา เป็นชาวบ้านพลูหลวง แขวงเมือง[[สุพรรณบุรี]] (ปัจจุบันคือบ้านพลูหลวง ตั้งอยู่ใน ต.สนามชัย อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี) เป็นบุตรของพระนมเปรม และมีพระขนิษฐาคือ[[ท้าวศรีจุฬาลักษณ์ (แจ่ม)]]<ref name="แจ่ม">ภูธร ภูมะธน. '''โกษาปาน ราชทูตกู้แผ่นดิน'''. (กรุงเทพฯ:สถาบันการเรียนรู้และสร้างสรรค์ (พิพิธภัณฑ์การเรียนรู้), 2550), หน้า 33</ref><ref>พลับพลึง มูลศิลป์. '''ความสัมพันธ์อาณาจักรอยุธยา-ฝรั่งเศส สมัยอยุทธยา'''. (กรุงเทพ:บรรณกิจ), 2523, หน้า 110, 238</ref> พระสนมเอกใน[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] ต่อมาได้รับราชการจนมีบรรดาศักดิ์เป็นพระเพทราชา ดำรงตำแหน่งเจ้ากรมพระคชบาล มีกำลังพลในสังกัดหลายพัน<ref>''นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย'', หน้า 158</ref>
 
ในปี พ.ศ. 2231 เมื่อสมเด็จพระนารายณ์มหาราชประทับ ณ พระที่นั่งสุทธาสวรรค์ ทรงพระประชวรใกล้สวรรคต ทรงเห็นว่าพระเพทราชาเป็นผู้ใหญ่ จึงมอบหมายให้ว่าราชการแทน<ref>''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)'', หน้า 317</ref> ระหว่างนั้นพระเพทราชาลวงพระอนุชาทั้งสองพระองค์ของสมเด็จพระนารายณ์ คือ[[เจ้าฟ้าน้อย]]และ[[เจ้าฟ้าอภัยทศ]]ว่ามีรับสั่งให้เข้าเฝ้า เมื่อทั้งสองพระองค์เสด็จถึงเมืองลพบุรีก็ถูก[[สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8|หลวงสรศักดิ์]]จับไปสำเร็จโทษที่วัดทราก ส่วน[[พระปีย์]]พระราชโอรสบุญธรรมถูกผลักตกจากชาลาพระที่นั่งสุทธาสวรรค์แล้วกุมตัวไปสำเร็จโทษ เมื่อสมเด็จพระนารายณ์สวรรคตแล้ว ได้สั่งให้[[เจ้าพระยาวิชเยนทร์พระยาวิไชเยนทร์ (คอนสแตนติน ฟอลคอน)]] เข้ามาพบ เมื่อเจ้าพระยาวิชเยนทร์มาถึงศาลาลูกขุนก็ถูกกุมตัวไปประหารชีวิต เมื่อจัดการบ้านเมืองสงบแล้วจึงเชิญพระบรมศพสมเด็จพระนารายณ์มาประดิษฐานที่[[พระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์]] แล้วรับราชาภิเษก ณ [[พระที่นั่งสรรเพชญปราสาท]]<ref>''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)'', หน้า 330-331</ref>
 
เมื่อปราบดาภิเษกนั้นสมเด็จพระเพทราชามีพระชนมายุได้ 51 พรรษา ทรงพระนามว่า "''สมเด็จพระมหาบุรุษ วิสุทธิเดชอุดม บรมจักรพรรดิศร บรมนาถบพิตร สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัว''" แล้วทรงตั้ง[[กรมพระเทพามาตย์ (กัน)|คุณหญิงกัน]]เป็นพระอัครมเหสีฝ่ายขวา (พระมเหสีเดิมในพระเพทราชา เป็นผู้อภิบาลพระเจ้าเสือตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ ภายหลังได้ขึ้นเป็นที่ กรมพระเทพามาตย์ ในสมัยของพระเจ้าเสือ) ตั้ง[[กรมหลวงโยธาเทพ]] (เจ้าฟ้าทอง) พระราชธิดาในสมเด็จพระนารายณ์เป็นพระมเหสีฝ่ายซ้าย ตั้งนางนิ่มเป็นพระสนมเอก ตั้งหลวงสรศักดิ์เป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล ตั้งหม่อมแก้วบุตร[[ท้าวศรีจุฬาลักษณ์ (แจ่ม)]] พระขนิษฐาของพระองค์เป็นกรมขุนเสนาบริรักษ์ เป็นต้น<ref name=":0">''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)'', หน้า 318</ref>
เส้น 50 ⟶ 49:
 
==พระมเหสี==
สมเด็จพระเพทราชาทรงมีพระมเหสีสำคัญๆสำคัญ ๆ อยู่ 4 พระองค์ ได้แก่
# '''[[กรมพระเทพามาตย์ (กัน)]]'''<ref>[http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2008q4/2008december15p3.htm เรื่องเก่าเอามาเล่าอีก (1)]</ref> พระมเหสีเดิมในพระเพทราชาเป็นผู้อภิบาล[[พระเจ้าเสือ]]ตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ภายหลังได้ขึ้นเป็นที่'''[[กรมพระเทพามาตย์]]'''
# '''[[กรมหลวงโยธาเทพ]]''' หรือ มเหสีฝ่ายซ้าย - พระราชธิดาในสมเด็จพระนารายณ์มหาราช มีพระราชโอรสคือ [[เจ้าฟ้าตรัสน้อย]] ทรงสนใจทางด้านการศึกษาในหลายๆแขนงวิชา ช่วงหลังย้ายตามพระราชมารดาไปอยู่ ณ พระตำหนักใกล้[[วัดพุทไธศวรรย์]]
# '''[[กรมหลวงโยธาทิพ]]''' หรือ มเหสีฝ่ายขวา - พระขนิษฐาในสมเด็จพระนารายณ์มหาราช มีพระราชโอรสคือ [[เจ้าพระขวัญ]] ([[สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8|กรมพระราชวังบวร]][[สำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์]])
# '''[[นางกุสาวดี]]''' มเหสีพระราชทานจากพระนารายณ์มหาราช พระธิดาพญาแสนหลวง เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่