ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าซาร์บอริสที่ 3 แห่งบัลแกเรีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
CommonsDelinker (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ภาพ Coat_of_arms_of_Bulgaria_(1927-1946).svg ด้วย Coat_of_arms_of_Bulgaria_(1927–1946).svg จากวิกิพีเดียคอมมอนส์
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 24:
}}
 
'''พระเจ้าซาร์บอริสที่ 3 แห่งบัลแกเรีย''' ([[30 มกราคม]] [[พ.ศ. 2437]] - [[28 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2489]]) (พระนามเต็ม:บอริส คลีเมนต์ โรเบิร์ต มาเรีย ปิอุส ลุดวิก สตานิสเลาส์ ซาเวียร์<ref>Pachanko Dimitrov, "Boris III tsar des Bulgares (1894-1943). Travailleur, citoyen, tsar", Sofia, Ed. Universitaire "Sveti Kliment Ohridski", 1990 (Пашанко Димитров, "Борис ІІІ цар на българите (1894-1943). Труженик, гражданин, цар", София, УИ "Свети Климент Охридски", 1990)]</ref>)เป็นพระโอรสใน[[พระเจ้าซาร์เฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งบัลแกเรีย]]กับ[[เจ้าหญิงมารี หลุยส์แห่งปาร์มา]] พระองค์ทรงขึ้นครองราชสมบัติหลังจากพระบิดาทรงสละราชบัลลังก์ในปีพ.ศ. 2461 หลังจากความพ่ายแพ้ของ[[ราชอาณาจักรบัลแกเรีย]]ใน[[สงครามโลกครั้งที่ 1]] นับเป็นการพ่ายแพ้ครั้งที่ 2 หลังจากกองทัพ[[บัลแกเรีย]]พ่ายแพ้ใน[[สงครามบอลข่านครั้งที่ 2]]ในปีพ.ศ. 2456 ด้วย[[สนธิสัญญาเนยยี-เซอร์-ไซน์]]ทำให้[[บัลแกเรีย]]ต้องแบ่งดินแดนและจ่ายค่าปฏิกรรมสงครามแก่ประเทศเพื่อนบ้าน ด้วยเหตุนี้ทำให้เกิดการคุกคามความมั่นคงทางการเมืองและเศรษฐกิจ ทำให้เกิดกระแสการต้องการเปลี่ยนแปลงการปกครองอย่างมากในช่วงรัชกาลของพระองค์
 
== ภายใต้การปกครองของพระบิดาผู้เข้มงวด ==
บรรทัด 36:
แต่เจ้าชายบอริส พระโอรสของของพระองค์ทรงแบ็ฟติสท์ตามคาทอลิกแล้ว พระเจ้าเฟอร์ดินานด์ทรงจริงจังอย่างยิ่งที่จะเปลี่ยนมานับถือออร์ทอด็อกซ์ การแบ็ฟติสท์ในนิกายนี้จะช่วยให้พระองค์ใกล้ชิดกับชาวบัลแกเรียได้ แต่[[สมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย]]ทรงปฏิเสธที่จะรับรองพระองค์
 
อย่างไรก็ตามการที่ทรงกระทำเช่นนี้ทำให้เป็นข่าวใหญ่ไปทั่วยุโรป [[สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 13]]แห่งโรมันคาทอลิกทรงบัพพาชนียกรรมพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ [[สมเด็จพระจักรพรรดิฟรานซ์ โจเซฟที่ 1 แห่งออสเตรีย]]ทรงร้องขอให้เจ้าหญิงมารี หลุยส์ทูลเตือนการกระทำของพระสวามี ทำให้พระเจ้าเฟอร์ดินานด์ทรงลังเลพระทัยเล็กน้อยแต่ในที่สุดฝ่ายรัฐชนะ ทำให้พระองค์ทรงยืนยันความคิดเดิม ในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2439 ทรงเข้ารีตนับถือออร์ทอด็อกซ์ และ[[สมเด็จพระเจ้าซาร์จักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย]] (พระโอรสในสมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่อะเลคซันดร์ที่ 3 ซึ่งพระเจ้านิโคลัสทรงอภิเษกสมรสกับพระราชนัดดาใน[[สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร|สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย]]แห่ง[[สหราชอาณาจักร]])ได้กลายเป็นพระบิดาอุปถัมภ์ของเจ้าชายบอริส พระเจ้าเฟอร์ดินานด์และเจ้าหญิงมารี หลุยส์ พระมเหสีหลังจากทรงถูกบัพพาชนียกรรม ทรงตัดสินใจให้พระโอรสองค์ที่ 2 คือ [[คิริล, เจ้าชายแห่งเพรสลาฟ|เจ้าชายคีริลแห่งบัลแกเรีย]]เข้ารีตโรมันคาทอลิก เพื่อขอโทษพระสันตะปาปา
=== การเลี้ยงดูอย่างเข้มงวด ===
[[ไฟล์:Boris III âgé de 5 ans.jpg|thumb|left|เจ้าชายบอริส เมื่อมีพระชนมายุ 5 ชันษา]]
บรรทัด 48:
ในวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2451 เกิดการขัดแย้งทางการเมืองภายในจักรวรรดิออตโตมัน พระเจ้าเฟอร์ดินานด์ได้ประกาศตนเป็น "สมเด็จพระเจ้าซาร์" และทรงประกาศอิสรภาพบัลแกเรียจากจักรวรรดิออตโตมันอย่างสมบูรณ์<ref>Dimitrina Aslanian, Histoire de la Bulgarie de l'Antiquité à nos jours p.273 </ref>
 
ในปีพ.ศ. 2454 เจ้าชายบอริสทรงเดินทางไปยังประเทศต่างๆเพื่อเป็นตัวแทนของบัลแกเรียในเวทีโลก<ref>Constant Schaufelberger, La destinée tragique d’un roi. p.24 </ref> เช่น ทรงเข้าร่วมพระราชพิธีราชาภิเษกของ[[สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร]]ที่กรุง[[ลอนดอน]] และพระราชพิธีฝังพระศพ[[มาเรีย เพียแห่งอิตาลี สมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกส|สมเด็จพระราชินีมาเรีย เพียแห่งโปรตุเกส]]ที่เมือง[[ตูริน]] ทำให้มีการติดต่อกับระดับผู้นำประเทศตางๆ ในวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2454 ทรงเข้าเยี่ยมพระบิดาอุปถัมภ์คือ [[สมเด็จพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย]] ทรงได้เป็นพยานในเหตุการณ์สำคัญคือ การลอบสังหาร[[พอยเทอ สตอฟพิน]] นายกรัฐมนตรีรัสเซีย ซึ่งทรงเห็นด้วยพระองค์เองที่โรงละครโอเปร่าใน[[เคียฟ]]
 
ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2455 เจ้าชายบอริสทรงเฉลิมฉลองวันประสูติครบรอบ 18 ชันษา และทรงบรรลุนิติภาวะ ในเดือนเดียวกันพระองค์ได้ดำรงเป็นนายทหารและเป็นนายกองร้อยที่ 6<ref>Nikolaĭ Petrov Nikolaev, La destinée tragique d’un roi. p.119 </ref> 9 เดือนหลังจากเริ่มต้น[[สงครามบอลข่านครั้งที่ 1]]ที่ซึ่ง[[เซอร์เบีย]],[[กรีซ]],[[มอนเตเนโกร]]และ[[บัลแกเรีย]]ร่วมกันต่อต้าน[[จักรวรรดิออตโตมัน]]เพื่ออิสรภาพแห่ง[[ภูมิภาคมาซิโดเนีย]] โดยพระองค์ทรงเข้าร่วมรบในแนวหน้าของสมรภูมิ หลังจากได้รับชัยชนะแต่บัลแกเรียไม่ได้ผลประโยชน์เท่าที่ควร ทำให้บัลแกเรียตัดสินใจเข้าโจมตีอดีตพันธมิตรในพ.ศ. 2456 กลายเป็น[[สงครามบอลข่านครั้งที่ 2]] ซึ่งจบลงด้วยโรคระบาด กองทัพถูกทำลายยับเยินด้วยอหิวาตกโรค <ref>ibid. p.120</ref>
 
 
 
เส้น 89 ⟶ 90:
พระเจ้าซาร์บอริสทรงปรากฏอยู่ในข่าวเสมอ ยกตัวอย่างเช่น ระหว่างฤดูร้อน พ.ศ. 2474 ในขณะที่[[ทะเลดำ]]สภาพอากาศแปรปรวน พระเจ้าซาร์ทรงขับเรือมอเตอร์ออกไปช่วยเหลือประชาชน 6 คนที่กำลังจมน้ำได้อย่างปลอดภัย ในฤดูใบไม้ร่วง พ.ศ. 2477 ระหว่างที่ทรงเดินทางเพื่อไปพักผ่อนอยู่ริมฝั่งทะเลดำ รถไฟของพระองค์เกิดหยุด พระองค์ทรงตกพระทัยรีบต่อเครื่อง พบว่ารถไฟไหม้อย่างรุนแรงจากน้ำมันเครื่องของล้อติดไฟ พระองค์ทรงพยายามให้ผู้โดยสารสงบสติ และทรงควบคุมขบวนรถไฟไปยังสะพานที่ใกล้ที่สุด พระองค์ทรงใช้ทรายเปียกดับไฟและทรงดูแล ควบคุมรถไฟจนถึงเมือง[[วาร์นา]]
 
ในปีพ.ศ. 2469 พระเจ้าซาร์บอริสเสด็จประพาสต่างประเทศครั้งแรกหลังจากทรงครองราชสมบัติ เสด็จประพาส[[สวิสเซอร์แลนด์]]และ[[อิตาลี]] จนกระทั่งพ.ศ. 2473 ทรงข้ามไป[[ยุโรป]]พร้อมกับ[[เจ้าหญิงยูโดเซียแห่งบัลแกเรีย]] พระขนิษฐา แต่ด้วยความเกรงกลัวจะถูกลอบโจมตี พระองค์ทรงใช้นามแฝงว่า "เคานท์สตานิสลาส วอร์ซอ ริลสกี้" และเป็นพระเจ้าบอริสที่ 3 เมื่อพบปะบุคคลสำคัญอย่างเป็นทางการ พระองค์ทรงเข้าร่วมสันนิบาตชาติใน[[สวิสเซอร์แลนด์]] ทรงเข้าพบ [[แกสตัน โดวเมอกูร์]] ประธานาธิบดี[[ฝรั่งเศส]],[[พอล ฟาน ฮินเดนบูร์ก]] ประธานาธิบดี[[เยอรมนี]], [[สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่พระเจ้าอัลแบร์ที่ 1 แห่งเบลเยียม]], [[สมเด็จพระเจ้าวิคเตอร์วิตโตรีโอ เอ็มเอมานูเอลที่นูเอเลที่ 3 แห่งอิตาลี]]และทรงล่าสัตว์ร่วมกับ[[สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร]] พระองค์ยังทรงเข้าพบ[[อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์]]และนักปรัชญา [[เฮนรี เบิร์กสัน]]
 
ในการเสด็จประชุมครั้งแรกที่โรม ทรงเข้าพบ[[เบนิโต มุสโสลินี]]ครั้งแรก มีพระปฏิสันถารกับเขาว่า "ผมชื่นชมท่านที่มีการจัดการเพื่อฟื้นฟู ปรับปรุงอิตาลี แต่เผด็จการเป็นระบอบเบ็ดเสร็จนิยมมีความสามารถชั่วคราวเท่านั้น จำคำพูดของบิสมาร์กที่ว่า คุณสามารถทำทุกอย่างด้วยดาบปลายปืนยกเว้นนั่งบนมัน ผมชื่นชมคุณมากขึ้นถ้าคุณออกจากระบอบนี้ด้วยตนเอง แต่เมื่อจำเป็นที่ต้องออก คุณควรให้อำนาจกลับคืนอย่างถูกต้องตามกฎหมาย"
เส้น 103 ⟶ 104:
** ในปีพ.ศ. 2500 เจ้าชายคาร์ลแห่งเลนนินเกน มีพระโอรสธิดารวมกัน 2 พระองค์
** ในปีพ.ศ. 2512 บรอนิสลอว์ โครว์บอก มีพระโอรสธิดารวมกัน 2 พระองค์
* [[ซีโมน แซ็กซ์-โคบูร์ก-ก็อตธา|พระเจ้าซาร์ซิเมออนที่ 2 แห่งบัลแกเรีย]] ประสูติ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2480 เป็นพระเจ้าซาร์แห่งบัลแกเรียตั้งแต่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2486 – 15 กันยายน พ.ศ. 2489 ได้ลี้ภัยไปยังสเปน และได้กลับมายังบัลแกเรียในปีพ.ศ. 2544 และได้รับการเลือกตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีแห่งบัลแกเรีย
 
ทั้งสองพระองค์ได้ตัดสินใจที่จะให้พระโอรสและธิดาทำพิธีแบ็ฟติสท์และมีพระนามแบบออร์ทอด็อกซ์ ทำให้ทางวาติกันประท้วงและกล่าวว่า